ดาวยักษ์ (อังกฤษ: Giant star) คือดาวฤกษ์ชนิดหนึ่งที่มีรัศมีและความส่องสว่างสัมบูรณ์มากกว่าดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักที่มีอุณหภูมิพื้นผิวเท่ากัน[1] โดยทั่วไปดาวยักษ์จะมีรัศมีระหว่าง 10 ถึง 100 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ และความส่องสว่างระหว่าง 10 ถึง 1,000 เท่าของดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์ที่มีความสว่างยิ่งกว่าดาวยักษ์จะเรียกว่า ดาวยักษ์ใหญ่ และดาวไฮเปอร์ไจแอนท์[2][3] บางครั้งดาวฤกษ์ในแถบลำดับหลักที่มีความร้อนสูงและส่องสว่างมาก ๆ ก็อาจถูกเรียกว่าดาวยักษ์ได้เช่นเดียวกัน[4] การที่ดาวยักษ์มีรัศมีและความส่องสว่างที่สูงมาก ทำให้มันอยู่เหนือแถบลำดับหลัก (ค่าความส่องสว่างระดับ V ตามการจัดประเภทดาวฤกษ์ของเยอร์เกสบนไดอะแกรมของเฮิร์ตสปรัง-รัสเซลล์ เทียบกับกับระดับความส่องสว่าง II หรือ III[5]

โครงสร้างภายในของดาวฤกษ์ที่คล้ายดวงอาทิตย์ กับดาวยักษ์แดง ภาพจาก ESO

ตัวอย่างแก้ไข

ดาวยักษ์ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ซึ่งมีสีต่าง ๆ ดังเช่น :

อ้างอิงแก้ไข

  1. Giant star, entry in Astronomy Encyclopedia, ed. Patrick Moore, New York: Oxford University Press, 2002. ISBN 0-19-521833-7.
  2. supergiant, entry in The Encyclopedia of Astrobiology, Astronomy, and Spaceflight, David Darling, on line, accessed May 15, 2007.
  3. hypergiant, entry in The Encyclopedia of Astrobiology, Astronomy, and Spaceflight, David Darling, on line, accessed May 15, 2007.
  4. Giant star, entry in Cambridge Dictionary of Astronomy, Jacqueline Mitton, Cambridge: Cambridge University Press, 2001. ISBN 0-521-80045-5.
  5. giant, entry in The Facts on File Dictionary of Astronomy, ed. John Daintith and William Gould, New York: Facts On File, Inc., 5th ed., 2006. ISBN 0-8160-5998-5.
  6. Alcyone, entry in SIMBAD, accessed May 16, 2007.
  7. Alcyone เก็บถาวร 2010-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at Jim Kaler's STARS, accessed on line May 16, 2007.
  8. Thuban, entry in SIMBAD, accessed May 16, 2007.
  9. Sigma Octantis, entry in SIMBAD, accessed May 16, 2007.
  10. α Aurigae Aa, entry in SIMBAD, accessed May 16, 2007.
  11. Pollux, entry in SIMBAD, accessed May 16, 2007.
  12. Mira, entry in SIMBADaccessed May 16, 2007.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข