คูชิโระ

นครในกิ่งจังหวัดคูชิโระ จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น

คูชิโระ (ญี่ปุ่น: 釧路市โรมาจิKushiro-shi) เป็นนครที่ตั้งอยู่ในกิ่งจังหวัดคูชิโระ จังหวัดฮกไกโด ประเทศญี่ปุ่น เป็นเมืองที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด ชื่อเดิมของคูชิโระคือ คูซูริ เปลี่ยนชื่อมาเป็น คูชิโระ เมื่อ ค.ศ. 1869

คูชิโระ

釧路市
จากบนซ้าย: ป่าชายเลนคูชิโระ, สะพานนูซาไม, ทะเลสาบอากังและเขาโออากัง, ราเม็งคูชิโระ, และท่าเรือคูชิโระ
จากบนซ้าย: ป่าชายเลนคูชิโระ, สะพานนูซาไม, ทะเลสาบอากังและเขาโออากัง, ราเม็งคูชิโระ, และท่าเรือคูชิโระ
ธงของคูชิโระ
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของคูชิโระ
ตรา

ที่ตั้งของคูชิโระ (เน้นสีชมพู) ในกิ่งจังหวัดคูชิโระ
คูชิโระตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
คูชิโระ
คูชิโระ
ที่ตั้งในประเทศญี่ปุ่น
พิกัด: 42°59′N 144°23′E / 42.983°N 144.383°E / 42.983; 144.383
ประเทศธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภูมิภาคฮกไกโด
จังหวัด ฮกไกโด
กิ่งจังหวัดคูชิโระ
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีฮิโรยะ เอบินะ (蝦名 大也)
พื้นที่
 • ทั้งหมด1,362.90 ตร.กม. (526.22 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2023)
 • ทั้งหมด159,941 คน
 • ความหนาแน่น117 คน/ตร.กม. (300 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+09:00 (เวลามาตรฐานญี่ปุ่น)
รหัสท้องถิ่น01206-8
ที่อยู่ศาลาว่าการ7-5 Kuroganechō, Kushiro-shi, Hokkaido
085-8505
เว็บไซต์www.city.kushiro.lg.jp
สัญลักษณ์
ดอกไม้แนสเตอร์เตียม
ต้นไม้Syringa reticulata
มาสคอตรินจัง (りんちゃん)

นครคูชิโระนั้นมีสองส่วน ซึ่งมีพื้นที่ไม่ติดกัน ได้แก่ คูชิโระตะวันตก และคูชิโระตะวันออก ส่วนตัวเมืองตั้งอยู่ในคูชิโระตะวันออก

ประวัติศาสตร์ แก้

ในอดีต คูชิโระเป็นเมืองท่าสำคัญเพราะเป็นที่น่าเชื่อถือว่า ท่าเรือของคูชิโระนั้นปลอดน้ำแข็งในช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีกว่าเมืองอื่น ๆ ในละแวกนั้น แต่ก็อาจมีน้ำแข็งเป็นบางครั้งในช่วงเวลาสั้น ๆ ที่ความเค็มของน้ำทะเลลดลง ด้วยเหตุนี้คูชิโระจึงกลายเป็นเป้าหมายที่มีค่าสำหรับจักรพรรดิแห่งรัสเซียในช่วงสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น แต่คูชิโระเป็นเมืองท่าที่สำคัญที่สุดเฉพาะในช่วงปี ค.ศ. 1920 เท่านั้น โดยมีการเจริญเติบโตของการประมงในเชิงพาณิชย์ ซึ่งชาวประมงมีทางเลือกในการลดค่าใช้จ่ายจากการตัดน้ำแข็ง

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของคูชิโระ (ค.ศ. 1981 - 2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 7.6
(45.7)
7.9
(46.2)
15.1
(59.2)
23.5
(74.3)
28.0
(82.4)
28.3
(82.9)
29.7
(85.5)
31.0
(87.8)
28.6
(83.5)
22.6
(72.7)
18.7
(65.7)
12.4
(54.3)
31.0
(87.8)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) −0.9
(30.4)
−0.8
(30.6)
2.4
(36.3)
7.4
(45.3)
12.4
(54.3)
15.1
(59.2)
18.8
(65.8)
20.9
(69.6)
19.0
(66.2)
14.5
(58.1)
8.5
(47.3)
2.4
(36.3)
10.0
(50)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −10.6
(12.9)
−10.8
(12.6)
−5.6
(21.9)
0.1
(32.2)
4.5
(40.1)
8.5
(47.3)
13.1
(55.6)
15.4
(59.7)
12.2
(54)
5.1
(41.2)
−1.0
(30)
−7.2
(19)
2.0
(35.6)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −28.3
(-18.9)
−27.0
(-17)
−24.8
(-12.6)
−14.1
(6.6)
−4.6
(23.7)
−0.4
(31.3)
3.3
(37.9)
5.4
(41.7)
−2.2
(28)
−6.9
(19.6)
−15.2
(4.6)
−25.7
(-14.3)
−28.3
(−18.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 44.3
(1.744)
29.4
(1.157)
58.4
(2.299)
78.8
(3.102)
113.0
(4.449)
106.5
(4.193)
115.4
(4.543)
123.3
(4.854)
153.1
(6.028)
106.5
(4.193)
71.3
(2.807)
45.2
(1.78)
1,045.2
(41.15)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 54
(21.3)
39
(15.4)
48
(18.9)
12
(4.7)
1
(0.4)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
6
(2.4)
27
(10.6)
187
(73.6)
ความชื้นร้อยละ 69 67 68 77 79 87 88 88 82 75 69 67 76.3
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.5 mm) 6.4 5.4 8.3 8.8 10.7 9.7 11.8 11.3 11.4 7.9 7.9 7.9 107.5
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 15.8 15.7 15.6 7.2 0.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.2 3.8 10.9 69.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 182.0 181.9 200.6 181.9 188.3 129.3 107.4 127.1 149.7 180.9 166.6 173.6 1,969.3
แหล่งที่มา 1: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น [1]
แหล่งที่มา 2: สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (ระเบียน)[2]

ระเบียงภาพ แก้

การเดินทาง แก้

อ้างอิง แก้

  1. "平年値(年・月ごとの値)". สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 2010-03-06.
  2. "観測史上1~10位の値(年間を通じての値)". สำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 2010-03-06.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้