คุรุโควินทสิงห์
คุรุโควินทสิงห์ (สันสกฤต: गुरु गोविन्द सिंह) หรือ คุรุโคพินทสิงห์ (ฮินดี: गुरु गोबिन्द सिंह; อ่านว่า กุรุ โก พิน ตะ สิง) (5 มกราคม ค.ศ. 1666 – 7 ตุลาคม ค.ศ. 1708),[4][5] มีพระนามเดิมว่า โควินทะ ราย เป็นคุรุซิกข์องค์ที่ 10 อาจารย์ทางจิตวิญญาณ นักรบ กวี และนักปรัชญา เมื่อคุรุเตฆ์บะฮาดุรพระบิดาของท่านถูกประหารตัดพระเศียรเพราะไม่ยอมเข้ารับอิสลาม[6][7] ท่านจึงกลายเป็นผู้นำชาวซิกข์แทนทั้งที่มีพระชนมายุได้เพียง 9 พรรษา[8] โอรสทั้งสี่คนของท่านเสียชีวิตขณะท่านยังมีพระชนม์อยู่ โดยสองท่านเสียชีวิตในสงคราม อีกสองท่านถูกกองทัพจักรวรรดิโมกุลประหาร[9][10][11]
คุรุโควินทสิงห์ | |
---|---|
![]() | |
ชื่ออื่น | นานักองค์ที่ 10[1] |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | โควินทะ ราย 5 มกราคม ค.ศ. 1666 |
มรณภาพ | 7 ตุลาคม ค.ศ. 1708 หชูรสาหิบ (ประเทศอินเดียในปัจจุบัน) | (41 ปี)
สาเหตุการเสียชีวิต | บาดแผล |
ศาสนา | ศาสนาซิกข์ |
คู่สมรส | มาตาชีโต, มาตาสุนทรี และมาตาสาหิบทีวาน[2] |
บุตร | อชีตสิงห์ ชุฌารสิงห์ โชราวรสิงห์ ฟะเตฮ์ สิงห์ |
บิดามารดา | คุรุเตฆ์บะฮาดุร, มาตาคูชรี |
รู้จักจาก | ผู้ก่อตั้งขาลสา[3] ประพันธ์ชาปสาหิพ, จัณฑี ที วาร เป็นต้น |
ชื่ออื่น | นานักองค์ที่ 10[1] |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ผู้ดำรงตำแหน่งก่อนหน้า | คุรุเตฆ์บะฮาดุร |
ผู้ดำรงตำแหน่งถัดมา | คุรุครันถสาหิพ |
ท่านทรงสร้างคุณูปการไว้หลายประการต่อศาสนาซิกข์ รวมทั้งการสร้างกองกำลังนักรบเรียกว่า "ขาลสา" ในปี ค.ศ. 1699[3][12][13] และบัญญัติ "ก 5 ประการ" อันเป็นหลักความเชื่อที่ชาวขาลสาต้องปฏิบัติตามตลอดชีวิต นอกจากนี้ท่านยังทำให้ศาสนาซิกข์มีรูปแบบมากขึ้น ประพันธ์คัมภีร์สำคัญ ๆ ไว้หลายเล่ม[14][15] และตั้ง "คุรุครันถสาหิพ" เป็นคุรุแทนไว้ตลอดกาล[16]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ Pashaura Singh; Louis E. Fenech (2014). The Oxford Handbook of Sikh Studies. Oxford University Press. p. 311. ISBN 978-0-19-969930-8.
- ↑ Dhillon, Dr Dalbir Singh (1988). Sikhism – Origin and Development. Atlantic Publishers and Distributors. p. 144. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 กันยายน 2016.
{{cite book}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ 3.0 3.1 Arvind-Pal Singh Mandair; Christopher Shackle; Gurharpal Singh (2013). Sikh Religion, Culture and Ethnicity. Routledge. pp. 25–28. ISBN 978-1-136-84627-4.
- ↑ Ganda Singh. "GOBIND SINGH, GURU (1666-1708)". Encyclopaedia of Sikhism. Punjabi University Patiala. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กรกฎาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2016.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ Owen Cole, William; Piara Singh Sambhi (1995). The Sikhs: Their Religious Beliefs and Practice. Sussex Academic Press. p. 36.
- ↑ Guru Tegh Bahadur เก็บถาวร 14 เมษายน 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน BBC Religions (2009)
- ↑ Everett Jenkins, Jr. (2000). The Muslim Diaspora (Volume 2, 1500-1799): A Comprehensive Chronology of the Spread of Islam in Asia, Africa, Europe and the Americas. McFarland. p. 200. ISBN 978-1-4766-0889-1.
- ↑ Jon Mayled (2002). Sikhism. Heinemann. p. 12. ISBN 978-0-435-33627-1.
- ↑ Chris Seiple; Dennis Hoover; Pauletta Otis (2013). The Routledge Handbook of Religion and Security. Routledge. p. 93. ISBN 978-0-415-66744-9.;
John F. Richards (1995). The Mughal Empire. Cambridge University Press. pp. 255–258. ISBN 978-0-521-56603-2. - ↑ "The Sikh Review". Sikh Cultural Centre. 20 (218–229): 28. 1972.
- ↑ Hardip Singh Syan (2013). Sikh Militancy in the Seventeenth Century: Religious Violence in Mughal and Early Modern India. I.B.Tauris. pp. 218–222. ISBN 978-1-78076-250-0.
- ↑ "BBC Religions - Sikhism". BBC. 26 ตุลาคม 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 มกราคม 2011. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2011.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ P Dhavan (2011). When Sparrows Became Hawks: The Making of the Sikh Warrior Tradition, 1699-1799. Oxford University Press. pp. 3–4. ISBN 978-0-19-975655-1.
- ↑ Singh, Patwant; (2000). The Sikhs. Alfred A Knopf Publishing. Pages 17. ISBN 0-375-40728-6.
- ↑ "A Biography of Guru Guru Nanak on BBC". BBC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 ตุลาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 30 ธันวาคม 2011.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ Christopher Shelke (2009). Divine covenant: rainbow of religions and cultures. Gregorian Press. p. 199. ISBN 978-88-7839-143-7.