ความชั่วร้าย[1] เป็นภาวะตรงข้ามกับความดี ใช้หมายถึงการผิดศีลธรรม[2]หรือจารีตประเพณีเป็นต้น[3] [4] และนิยามได้หลายอย่างตามแต่เหตุจูงใจที่ทำ[5]

ปิศาจทรมานบุคคลในนรก อุปมาเรื่องความชั่วร้าย

บางศาสนาถือว่าความชั่วร้ายเป็นพลังเหนือธรรมชาติ ความดี-ความชั่วเรียกว่าบุญ-บาป ศาสนาอับราฮัมมองว่าความดี-ความชั่วเป็นคู่ปฏิปักษ์กัน และในวาระสุดท้ายความดีจะชนะ ส่วนความชั่วจะพ่ายแพ้[6] ศาสนาพุทธมองว่าความดีความชั่วเป็นสภาพปรุงแต่งในใจอันเป็นผลมาจากอวิชชา[7] ผู้ตรัสรู้จึงเป็นผู้สิ้นบุญสิ้นบาป[8]

อ้างอิง

แก้
  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2548. 200 หน้า. หน้า 34. ISBN 974-9588-28-2
  2. "Evil". Oxford University Press. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-22. สืบค้นเมื่อ 2017-04-08.
  3. ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. หน้า 372. ISBN 978-616-7073-80-4
  4. Caitlin Matthews, John Matthews. Walkers Between the Worlds: The Western Mysteries from Shaman to Magus. Inner Traditions / Bear & Co, Jan 14, 2004. P. 173.
  5. Ervin Staub. Overcoming evil: genocide, violent conflict, and terrorism. New York, NY, USA: Oxford University Press, Pp. 32.
  6. Paul O. Ingram, Frederick John Streng. Buddhist-Christian Dialogue: Mutual Renewal and Transformation. University of Hawaii Press, 1986. P. 148-149.
  7. ปฏิจจสมุปปาทวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์, พระไตรปิฎก เล่มที่ 35 พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ 2 วิภังคปกรณ์
  8. พุทธาปทานชื่อปุพพกัมมปิโลติ, พระไตรปิฎกเล่มที่ 32 พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ 24 ขุททกนิกาย อปทาน ภาค 1