สังขาร
ส่วนหนึ่งของ | |
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมาย | |
นิพพาน | |
พระรัตนตรัย | |
หลักปฏิบัติ | |
ศีล · สมาธิ · ปัญญา สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์ | |
คัมภีร์ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก | |
หลักธรรม | |
ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 | |
นิกาย | |
เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน | |
สังคม | |
ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน | |
การจาริกแสวงบุญ | |
สังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ | |
ดูเพิ่มเติม | |
คำศัพท์ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ |
สังขาร แปลว่า การปรุงแต่ง สิ่งที่ถูกปรุงแต่ง
สังขารในไตรลักษณ์แก้ไข
ในไตรลักษณ์ สังขาร คือ ธรรมที่ถูกปรุงแต่ง ได้แก่ จิต เจตสิก และรูป ทั้งหมด
สังขารในขันธ์ 5แก้ไข
ในขันธ์ 5 สังขารขันธ์ คือ สภาพที่ปรุงแต่งจิต เป็นคุณสมบัติต่าง ๆ ของจิต ได้แก่ เจตสิก 9 ดวง เว้นเวทนาและสัญญา
สังขารในปฏิจจสมุปบาทแก้ไข
ในปฏิจจสมุปบาท สังขาร 3 คือ
- กายสังขาร เจตนาทางกาย
- วจีสังขาร เจตนาทางวาจา
- มโนสังขาร เจตนาทางใจ
หรือ อภิสังขาร 3 ได้แก่
- ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งกรรมฝ่ายดี
- อปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่กรรมฝ่ายชั่ว
- อาเนญชาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแต่งภพอันมั่นคง ไม่หวั่นไหว
อ้างอิงแก้ไข
- พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548