การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564

การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564 เป็นชุดการประท้วงในประเทศอิรักที่เริ่มเกิดขึ้นในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นวันที่นักเคลื่อนไหวจัดการประท้วงในสื่อสังคมทั่วเขตผู้ว่าการทางตอนกลางและตอนใต้ของประเทศอิรัก เพื่อประท้วงทั้งการฉ้อราษฎร์บังหลวงวงเรื่อง, การว่างงาน, การแบ่งพวกทางการเมือง, บริการสาธารณระย่ำแย่ และการแทรกแซง การประท้วงลุกลามถึงการเรียกร้องให้โค่นรัฐบาลอิรัก ฝ่ายรัฐบาลใช้กองกำลังติดอาวุธที่อิหร่านหนุนหลัง ซึ่งใช้กระสุนจริง, นักแม่นปืน, น้ำร้อน, แก๊สพริกไทยร้อน และแก๊สน้ำตาต่อผู้ประท้วง ทำให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บหลายคน[10][11][12][13]

การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564
ส่วนหนึ่งของ การประท้วงอาหรับ ค.ศ. 2018–2022, วิกฤตอ่าวเปอร์เซีย ค.ศ. 2019–2021
การประท้วงที่แบกแดดในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2019
วันที่1 ตุลาคม ค.ศ. 2019 (2019-10-01) – 3 มกราคม ค.ศ. 2020 (มีการประท้วงเป็นครั้งคราวจนถึง ค.ศ. 2021)
สถานที่ประเทศอิรัก
สาเหตุ
เป้าหมาย
  • โลกิยนิยม[5][6]
  • หยุดการแทรกแซงกิจการของต่างประเทศในอิรัก[7]
  • พัฒนาบริการภาครัฐ
  • พัฒนามาตรฐานการครองชีพ
วิธีการ
ผล
คู่ขัดแย้ง
อิรัก ผู้ประท้วงชาวอิรัก
ผู้นำ
ไม่มีผู้นำเป็นศูนย์กลาง
อิรัก บัรฮัม ศอเลียะห์
(ประธานาธิบดีอิรัก)
อิรัก มุฮัมมัด อัลฮัลบูซี
(ประธานรัฐสภาอิรัก)
อิรัก อาดิล อับดุลมะฮ์ดี
(อดีตนายกรัฐมนตรีอิรัก)
อิรัก ญุมอะฮ์ อินาด
(รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม)
อิรัก นะญาห์ อัชชัมมะรี
(อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม)
อิรัก ฟาเลียะห์ อัลฟัยยาฎ
(ที่ปรึกษาสภาความมั่นคงแห่งชาติ)
อิรัก มุฮะนัด อัลอะกอบี
(อธิบดีทีมมีเดียวอร์)
อิรัก นูรี อัลมาลิกี
(หัวหน้าพรรคดะอ์วะฮ์อิสลาม)
อิรัก ฮุมาม ฮะมูดี
(หัวหน้าสภาอิสลามสูงสุดอิรัก)
มุกตะดา อัศศ็อดร์
(หัวหน้าขบวนการศ็อดรี)
อะบู มะฮ์ดี อัลมุฮันดิส 
(รองประธาน PMF)
อะบูซัยนับ อัลลามี[8]
(ผู้อำนวยการรักษาความปลอดภัยของ PMF)
ฮาดี อัลอามิรี
(ผู้บัญชาการองค์การบัดร์)
ก็อยส์ อัลเคาะซะอ์ลี
(ผู้บัญชาการอะศออิบ อะฮ์ลุลฮัก)
ความเสียหาย
เสียชีวิต600 - 1,000
บาดเจ็บมากกว่า 4,000
ถูกจับกุม4,600
ข้อมุลผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ: 13 มกราคม ค.ศ. 2020 จาก Iraqi Warcrimes Documentation Center[9]

ผู้ประท้วงเรียกร้องให้หยุดระบบการเมืองแบบแบ่งแยกที่สหรัฐและพันธมิตรจัดตั้งขึ้นหลังการรุกรานที่นำโดยสหรัฐใน ค.ศ. 2003[14][15][16] และการประท้วงครั้งนี้ถือเป็นการก่อความไม่สงบมากที่สุดนับตั้งแต่การุกรานใน ค.ศ. 2003[17]

อ้างอิง แก้

  1. "Iraqi protesters block major port near Basra as unrest continues". Al Jazeera. 2 November 2019.
  2. "Anti-government protests : Is This Iraq's Arab Spring?—Qantara.de". Qantara.de. 6 November 2019.
  3. "Protests in Iraq turn into anti-Iranian demonstrations". Daily Sabah. 27 October 2019.
  4. Abdul-Ahad, Ghaith (29 October 2019). "Iraq's young protesters count cost of a month of violence". The Guardian.
  5. "New Iraqi party challenges Iran, advocates for normalisation | Hammam Latif". AW.
  6. Morgan, Azaria (3 October 2019). "Protest movements in Iraq in the age of a 'new civil society'".
  7. Rubin, Alissa J. (4 November 2019). "Iraqis Rise Against a Reviled Occupier: Iran". The New York Times.
  8. Al-Janabi, Abdul-Qadir (20 October 2019). "من هو أبوزينب اللامي.. ولماذا يتهم بتصفية متظاهري العراق؟". Al-Arabiya (ภาษาอาหรับ).
  9. "مركز توثيق جرائم الحرب بالعراق: 669 قتيلاً بالمظاهرات" [Iraqi War Crime Documentation Centre: 669 demonstrators killed]. Al Arabiya (ภาษาอาหรับ). 13 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
  10. "Iraq: HRW denounces lethal force against protesters, urges probe". www.aljazeera.com.
  11. Arraf, Jane (2021-09-18). "'There Is Chaos': Iran-Backed Militias Battle Activists in a Holy Iraqi City". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
  12. "Exclusive: Iran-backed militias deployed snipers in Iraq protests - sources". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-10-17. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
  13. "Pro-Iran militia supporters converge on Baghdad protests". the Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2019-12-05. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
  14. "Iraq protests: What's behind the anger?". BBC News. 7 October 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
  15. "'They are worse than Saddam': Iraqis take to streets to topple regime". The Guardian. 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 28 October 2019.
  16. "An Iraq for All Iraqis?". Providence (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 26 November 2019. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
  17. "Iraq Protester's Step Up Their Tactics As the Government in Baghdad Scrambles to Respond". Foreign Policy. 7 November 2019. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.