ยูริกาโมเมะ

(เปลี่ยนทางจาก Yurikamome)

ยูริกาโมเมะ (ญี่ปุ่น: 新交通ゆりかもめโรมาจิShinkōtsū Yurikamome) หรือชื่อทางการคือ โตเกียวริงไกชิงโกตซือ สายริงไก (ญี่ปุ่น: 東京臨海新交通臨海線โรมาจิTōkyō Rinkai Shinkōtsū Rinkai-sen) เป็นระบบคมนาคมโดยรถไฟฟ้าอัตโนมัติไร้คนขับ ในกรุงโตเกียว ให้บริการในเส้นทางสถานีรถไฟชิมบาชิ ผ่านเกาะโอไดบะ ไปสิ้นสุดที่สถานีโทโยซุ

ยูริกาโมเมะ
สายยูริกาโมเมะใกล้ย่านชิโอโดเมะ มิถุนายน 2007
ข้อมูลทั่วไป
ชื่ออื่นU
ชื่อลำลอง新交通ゆりかもめ
เจ้าของยูริกาโมเมะ อิงก์ (ทางตรง)
บจก.โตเกียวริงไก โฮลดิ้งส์ คอมพานี (TRHC; ทางอ้อม)
องค์การปกครองกรุงโตเกียว (สูงสุด; ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุดใน TRHC)
[1]
ที่ตั้งโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ปลายทาง
จำนวนสถานี16
เว็บไซต์www.yurikamome.co.jp
การดำเนินงาน
รูปแบบขนส่งมวลชนรางอัตโนมัติ
ผู้ดำเนินงานยูริกาโมเมะ อิงก์
ศูนย์ซ่อมบำรุงอาริอาเกะ
ขบวนรถ7300 ซีรีส์, 7500 ซีรีส์
(6-ตู้ต่อขบวน)
ผู้โดยสารต่อวัน133,000 ต่อวัน (FY 2018)[2]
ประวัติ
เปิดเมื่อ1 พฤศจิกายน 1995[2]
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง14.7 km (9.1 mi)
จำนวนทางวิ่งทางคู่
ระบบจ่ายไฟ600 V 50 Hz 3-phase AC รางที่สาม
ความเร็ว60 km/h (37 mph)
แผนที่เส้นทาง

km
km
Kachidoki E
 
ส่วนต่อขยาย
JKJOJTJY AG
ในอนาคต
 
ชิมบาชิ
0.0
14.7
โทโยซุ Y
E ชิโอโดเมะ
0.4
14.0
ชินโตโยซุ
Izu Islands ทาเกชิบะ
1.6
13.5
ชิโจมาเอะ
ฮิโนะเดะ
2.2
สะพานอาริอาเกะเหนือ
ชิบาอูระฟูโต
3.1
12.7
อาริอาเกะเทนนิสโนะโมะริ
สะพานสายรุ้ง
12.0
อาริอาเกะ R
โอไดบะไกฮิงโกเอ็ง
7.0
ศูนย์ซ่อมบำรุง
ไดบะ
7.8
11.3
โตเกียวบิ๊กไซต์
ท่าเรือนานาชาติโตเกียว
8.4
สะพานอาเคมิ
เทเลคอมเซ็นเตอร์
9.2
10.2
อาโอมิ
km
km
แผนที่เส้นทางสายยูริกาโมเมะ

โดย "ยูริกาโมเมะ" มาจากชื่อของนกนางนวลหัวดำ ในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นสัตว์ท้องถิ่นในบริเวณอ่าวโตเกียว

เทคโนโลยี

แก้

รถไฟฟ้าสายยูริกาโมเมะเป็นรถไฟฟ้าอัตโนมัติเต็มรูปแบบ ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่มีผู้ควบคุมบนตัวรถ บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยว แต่แท้จริงแล้วเป็นรถไฟฟ้าล้อยางที่วิ่งอยู่บนรางรถไฟยกระดับและควบคุมทิศทางโดยกำแพงด้านข้าง

สถานี

แก้
รหัส สถานี ภาษาญี่ปุ่น ระยะทาง (km) เชื่อมต่อ ที่ตั้ง เสียงประกาศ
(ภาษาญี่ปุ่น)
ระหว่าง
สถานี
สะสม
U01 ชิมบาชิ 新橋
Shimbashi
0.0 0.0 เขตมินาโตะ มาซูมิ อาซาโนะ
U02 ชิโอโดเมะ 汐留
Shiodome
0.4 0.4 ฮิโระ ชิโมโนะ
U03 ทาเกชิบะ 竹芝
Takeshiba
1.2 1.6 ชิอากิ ทากาฮาชิ
U04 ฮิโนะเดะ 日の出
Hinode
0.6 2.2 ยูริกะ โอจิไอ
U05 ชิบาอูระฟูโต 芝浦ふ頭
Shibaura-futō
0.9 3.1 มาเรีย ยามาโมโตะ
  สะพานสายรุ้ง
U06 โอไดบะไกฮิงโกเอ็ง お台場海浜公園
Odaiba-kaihinkōen
3.9 7.0 เค็นอิจิ ซูซูมูระ
U07 ไดบะ 台場
Daiba
0.8 7.8 โทชิยูกิ โมริกาวะ
U08 ท่าเรือสำราญนานาชาติโตเกียว 東京国際クルーズターミナル
Tōkyō Kokusai Kurūzu Tāminaru-eki
0.6 8.4 เขตโคโต โมโตกิ ทากางิ
U09 เทเลคอมเซ็นเตอร์ テレコムセンター
Terekomu Sentā
0.8 9.2 คาโอริ มิซูฮาชิ
U10 อาโอมิ 青海
Aomi
1.0 10.2 โคซูเกะ โทริอูมิ
U11 โตเกียวบิ๊กไซต์ 東京ビッグサイト
Tōkyō Biggu Saito
1.1 11.3 มิกาโกะ ทากาฮาชิ
U12 อาริอาเกะ 有明
Ariake
0.7 12.0 มาอิ นากาฮาระ
U13 อาริอาเกะเทนนิสโนะโมะริ 有明テニスの森
Ariake-Tennis-no-mori
0.7 12.7 ชิฮิโระ ซูซูกิ
U14 ชิโจมาเอะ 市場前駅
Shijō-mae
0.8 13.5 ทัตสึฮิซะ ซูซูกิ
U15 ชินโตโยซุ 新豊洲
Shin-toyosu
0.5 14.0 นัตสึโกะ คูวาตานิ
U16 โทโยซุ 豊洲
Toyosu
0.7 14.7 โซอิจิโร โฮชิ

อ้างอิง

แก้
  1. "Unmanned Tokyo transit line remains shut down". The Japan Times. 2006-04-16. สืบค้นเมื่อ 2020-05-25.
  2. 2.0 2.1 "会社概要". YURIKAMOME Inc. สืบค้นเมื่อ 2020-05-17.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้