การยอมจำนน
การยอมจำนน เป็นการกระทำที่ทหาร ชาติ หรือผู้เข้าร่วมสงครามอื่น ๆ ยุติการต่อสู้ และยอมถูกจับเป็นเชลย ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจด้วยตัวเองหรือได้รับคำสั่งจากนายทหารที่มียศสูง กว่า สัญลักษณ์ทั่วไปสำหรับการยอมจำนน คือ ธงขาว โดยการชูมือขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นว่าไม่มีอาวุธ
เมื่อ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมจำนน ทั้งสองฝ่ายอาจตกลงให้การยอมจำนนนั้นมีเงื่อนไข เช่น ฝ่ายหนึ่งจะยอมจำนนก็ต่อเมื่อผู้ชนะยอมทำตามสัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง ในขณะที่การยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข เป็นการบ่งชี้ว่า ฝ่ายที่ชนะจะปฏิบัติต่อฝ่ายที่แพ้นอกเหนือจากสัญญาใด ๆ ยกเว้นกฎแห่งสงครามเท่านั้น ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับรองจากอนุสัญญาเฮก (1907) และอนุสัญญาเจนีวา
รายชื่อการยอมจำนนแก้ไข
รูปภาพแก้ไข
Surrender of Lord Cornwallis by John Trumbull, depicting the British surrendering to French (left) and American (right) troops. Oil on canvas, 1820.
ผู้แทนจากจักรวรรดิญี่ปุ่นในพิธียอมจำนน บนเรือรบยูเอสเอส มิสซูรี (BB-63)
Lt. Gen. A. A. K. Niazi signing the Pakistani Instrument of Surrender in Dhaka on 16 Dec 1971, following India's victory in the 1971 Indo-Pakistani War.
ดูเพิ่มแก้ไข
บทความเกี่ยวกับทหาร การทหาร หรืออาวุธนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:การทหาร |