โอไรออน (ยานอวกาศ)
เนื้อหาในบทความนี้ล้าสมัย โปรดปรับปรุงข้อมูลให้เป็นไปตามเหตุการณ์ปัจจุบันหรือล่าสุด ดูหน้าอภิปรายประกอบ |
ยานลูกเรืออเนกประสงค์โอไรออน (อังกฤษ: Orion Multi-Purpose Crew Vehicle, MPCV) เป็นยานอวกาศซึ่งตั้งใจบรรทุกลูกเรือนักบินอวกาศสูงสุดสี่คน[5]ไปเป้าหมายที่หรือพ้นวงโคจรต่ำของโลก (LEO) นาซากำลังพัฒนา[6]เพื่อปล่อยบนระบบปล่อยอวกาศ[7] ปัจจุบัน ตั้งใจให้โอไรออนอำนวยความสะดวกการสำรวจดาวเคราะห์น้อยและดาวอังคารของมนุษย์ ตลอดจนให้ลูกเรือและขีดความสามารถการขนส่งสัมภาระไปและกลับจากสถานีอวกาศนานาชาติ
โอไรออน | |
---|---|
นาซาประกาศ MCOV เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2554[8] การออกแบบอาศัยยานสำรวจลูกเรือโอไรออนจากโครงการคอนสตัลเลชัน (Constellation program) ที่ถูกยกเลิก[9] มีสองมอดูลหลัก ล็อกฮีดมาร์ตินกำลังสร้างมอดูลสั่งการโอไรออนที่ศูนย์ประกอบมีชู (Michoud Assembly Facility) ในนิวออร์ลีนส์[10] ส่วนแอร์บัสกลาโหมและอวกาศกำลังสร้างมอดูลบริการโอไรออน จัดโดยองค์การอวกาศยุโรป[11][12]
เที่ยวบินทดสอบแรกของ MPCV เรียก การทดสอบการบินสำรวจ 1 (EFT-1) ถูกปล่อยบนจรวดเดลตา 4 เฮฟวีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 บนเที่ยวบินนาน 4 ชั่วโมง 24 นาที ลงจอดที่เป้าหมายในมหาสมุทรแปซิฟิกเมื่อเวลา 10:29 เซ็นทรัล[1][2][13][14] (ล่าช้าจากวันก่อนเพราะปัญหาเทคนิค[15]) ภารกิจบรรทุกนักบินอวกาศแรกคาดว่ายังไม่เกิดจนปี 2559[16]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Bergin, Chris (March 15, 2014). "EFT-1 Orion slips to December – Allows military satellite to launch first". nasaspaceflight.com. NASAspaceflight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-28. สืบค้นเมื่อ March 28, 2014.
- ↑ 2.0 2.1 Clark, Stephen (March 15, 2014). "Launch schedule shakeup delays Orion to December". spaceflightnow.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-28. สืบค้นเมื่อ March 28, 2014.
- ↑ "EFT-1 Orion targets morning launch on December 4". August 7, 2014. สืบค้นเมื่อ November 11, 2014.
- ↑ "NASA's New Orion Spacecraft Set to Launch Friday". AccuWeather.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-04. สืบค้นเมื่อ 2014-12-04.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อOrionQuickFacts
- ↑ Bergin, Chris. "EFT-1 Orion completes assembly and conducts FRR". NASASpaceflight.com. สืบค้นเมื่อ November 10, 2014.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อreport
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อspace.com
- ↑ Moen, Marina M. "Feasibility of Orion Crew Module Entry on Half of Available Propellant Due to Tank Isolation Fault". American Institute of Aeronautics and Astronautics. NASA Langley Research Center. สืบค้นเมื่อ September 15, 2011.
- ↑ "Michoud Assembly Facility Home Page". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-31. สืบค้นเมื่อ 2014-12-14.
- ↑ "NASA Signs Agreement for a European-Provided Orion Service Module". nasa.gov. January 16, 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-28. สืบค้นเมื่อ March 28, 2014.
- ↑ "ESA workhorse to power NASA's Orion spacecraft / Research / Human Spaceflight / Our Activities / ESA". Esa.int. 2013-01-16. สืบค้นเมื่อ 2014-07-15.
- ↑ "Orion Exploration Flight Test-1". aerospaceguide.net. January 11, 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-28. สืบค้นเมื่อ March 28, 2014.
- ↑ Fountain, Henry (December 5, 2014). "NASA's Orion Spacecraft Splashes Down in Pacific After Test Flight". New York Times. สืบค้นเมื่อ December 5, 2014.
- ↑ "Orion Post-Scrub News Conference". 5 December 2014.
- ↑ Fountain, Henry (December 5, 2014). "First Flight Test Is Successful for NASA's Orion Spacecraft". New York Times.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Official Orion NASA Web Site
- Lockheed Martin Orion Crew Vehicle Site เก็บถาวร 2011-05-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- NASA Budget Lays Out CEV Spiral Development - Aerospace Daily เก็บถาวร 2012-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (Feb 4, 2004)