นูร์บานู ซุลตัน

(เปลี่ยนทางจาก Nurbanu Sultan)

นูร์บานู ซุลตัน (ตุรกีออตโตมัน: نور بانو سلطان, ตุรกี: Nurbanu Sultan; ป. ค.ศ. 1525[1] – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1583) เป็นฮาเซกี ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน โดยเป็นพระมเหสีเอกของสุลต่านเซลิมที่ 2 (ครองราชย์ ค.ศ. 1566–1574) ภรรยาถูกกฎหมาย เช่นเดียวกันกับวาลีเด ซุลตันกับพระราชมารดาของสุลต่านมูรัดที่ 3 (ครองราชย์ ค.ศ. 1574–1583) พระองค์เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญที่สุดในช่วงรัฐสุลต่านหญิง มีทฤษฎีที่ขัดแย้งกันบอกถึงพระองค์ว่ามีต้นกำเนิดเป็นชาวเวนิส, ชาวยิว[2] หรือชาวกรีก[3] และพระนามาภิไธยตอนเสด็จพระราชสมภพว่าเป็นทั้งเซซิเลีย เวเนียร์-บัฟโฟ (Cecilia Venier-Baffo),[4] ราเชล[5] หรือคาเล คาร์ตาโน (Kalē Kartanou)[6]

นูร์บานู ซุลตัน
วาลีเด ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน
ดำรงพระยศ15 ธันวาคม ค.ศ. 1574 – 7 ธันวาคม ค.ศ. 1583
ฮาเซกี ซุลตันแห่งจักรวรรดิออตโตมัน
(มเหสีจักรพรรดิ)
ดำรงพระยศ7 กันยายน ค.ศ. 1566 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1574
ประสูติป. ค.ศ. 1525
แพรอส, ซิคละดีส หรือเกาะคอร์ฟู, สาธารณรัฐเวนิส?
เซซิเลีย เวเนียร์-บัฟโฟ หรือ ราเชล หรือ คาเล คาร์ตาโน
สวรรคต7 ธันวาคม ค.ศ. 1583(1583-12-07) (57–58 ปี)
พระราชวังบาฮ์ชี, อิสตันบูล, จักรวรรดิออตโตมัน
ฝังพระศพมัสยิดฮาเกียโซเฟีย, อิสตันบูล
คู่อภิเษกสุลต่านเซลิมที่ 2
พระราชบุตร
พระนามเต็ม
ตุรกี: Nurbanu Sultan
ตุรกีออตโตมัน: نوربانو سلطان
ศาสนาอิสลาม อดีตเคยนับถือโรมันคาทอลิก ยูดาห์ หรือออร์ทอดอกซ์แบบกรีก

อ้างอิง แก้

  1. A.H. de Groot, s.v. in Encyclopaedia of Islam vol.8 p.124
  2. Stanford J. Shaw, History of the Ottoman Empire and modern Turkey, Volume 1, p. 178, ที่ Google Books
  3. Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?
  4. Godfrey Goodwin, The Private World of Ottoman Women, Saqi Book, ISBN 0-86356-745-2, ISBN 3-631-36808-9, 2001. page 128,
  5. Valeria Heuberger, Geneviève Humbert, Geneviève Humbert-Knitel, Elisabeth Vyslonzil, Cultures in Colors, page 68. ISBN 3-631-36808-9, 2001
  6. Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?, Turcica, 24 (1992), pp. 241-259.

บรรณานุกรม แก้

  • Arbel, Benjamin, Nur Banu (c. 1530-1583): A Venetian Sultana?, Turcica, 24 (1992), pp. 241–259.
  • Peirce, Leslie Penn (1993). The Imperial Harem: Women and Sovereignty in the Ottoman Empire. Studies in Middle Eastern History. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-507673-8.
  • A.D. Alderson, The Structure of the Ottoman Dynasty. Clarendon Press, Oxford, 1956.
  • Almanach de Gotha: annuaire généalogique, diplomatique et statistique, Justes Perthes, Gotha, 1880–1944.
  • Düzbakar, Ömer (2006). Charitable Women And Their Pious Foundations In The Ottoman Empire: The Hospital of The Senior Mother, Nurbanu Valide Sultan.
  • Burke's Royal Families of the World, Volume II: Africa & The Middle East, Burke's Peerage Ltd., London, 1980.
  • A.H. de Groot, s.v. in Encyclopaedia of Islam vol.8 p. 124
  • Yılmaz Öztuna, Devletler ve Hanedanlar, Turkiye 1074-1990, Ankara, 1989.
  • Osman Selâheddin Osmanoğlu, Osmanli Devleti'nin Kuruluşunun 700. Yılında Osmanlı Hanedanı, Islâm Tarih, Sanat ve Kültür Araştırma Vakfı (ISAR), Istanbul, 1999.
  • Emine Fuat Tugay, Three Centuries: Family Chronicles of Turkey and Egypt, Oxford, 1963.
  • Ergin, Nina (2014). Ottoman Royal Women's Spaces: The Acoustic Dimension. The Johns Hopkins University Press.
  • Uluçay, Mustafa Çağatay (1985). Padışahların kadınları ve kızları. Türk Tarihi Kurumu Yayınları.
  • Freely, John (1999). Inside the Seraglio: Private Lives of the Sultans in Istanbul. Viking. ISBN 978-0140270563.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้