โคฐาภยะ ราชปักษะ

อดีตประธานาธิบดีศรีลังกา
(เปลี่ยนทางจาก Gotabaya Rajapaksa)

พันโท นันทเสนะ โคฐาภยะ ราชปักษะ (สิงหล: නන්දසේන ගෝඨාභය රාජපක්ෂ; ทมิฬ: நந்தசேன கோட்டாபய ராஜபக்ஸ; อักษรโรมัน: Nandasena Gotabaya Rajapaksa; เกิด 20 มิถุนายน ค.ศ. 1949) เป็นอดีตนายทหารประจำกองทัพบกศรีลังกาและนักการเมืองชาวศรีลังกา ประธานาธิบดีศรีลังกาคนที่แปด ดำรงตำแหน่งเมื่อ ค.ศ. 2019 กระทั่งลาออกในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022 ราชปักษะลี้ภัยไปยังสิงคโปร์โดยต่อเครื่องที่มัลดีฟส์ในวันเดียวกัน[6] ก่อนหน้า เขาเคยดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาเมืองระหว่าง ค.ศ. 2005–2015 ภายใต้ประธานาธิบดีมหินทะ ราชปักษะ พี่ชายของเขา ในสมัยปลายสงครามกลางเมืองศรีลังกา

โคฐาภยะ ราชปักษะ
ගෝඨාභය රාජපක්ෂ
கோட்டாபய ராஜபக்ஸ
ราชปักษะเมื่อ ค.ศ. 2019
ประธานาธิบดีศรีลังกา คนที่ 8
ดำรงตำแหน่ง
18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022
นายกรัฐมนตรีรนิล วิกรมสิงหะ
มหินทะ ราชปักษะ
ก่อนหน้าไมตรีปาละ สิริเสนะ
ถัดไปรนิล วิกรมสิงหะ
รัฐมนตรีกลาโหม
ดำรงตำแหน่ง
28 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022
ประธานาธิบดีตนเอง
นายกรัฐมนตรีมหินทะ ราชปักษะ
รนิล วิกรมสิงหะ
ก่อนหน้าไมตรีปาละ สิริเสนะ
ถัดไปรนิล วิกรมสิงหะ (แทน)
รัฐมนตรีเทคโนโลยี
ดำรงตำแหน่ง
26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 – 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2022
ประธานาธิบดีตนเอง
นายกรัฐมนตรีมหินทะ ราชปักษะ
รนิล วิกรมสิงหะ
ก่อนหน้าสุสิล เปรมชยันตะ
ถัดไปรนิล วิกรมสิงหะ (แทน)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด (1949-06-20) 20 มิถุนายน ค.ศ. 1949 (74 ปี)
ปาลตูวะ เขตซีลอน
สัญชาติศรีลังกา (ค.ศ. 1949–2003 และ ค.ศ. 2005–ปัจจุบัน)[1][2][3]
สหรัฐ (ค.ศ. 2003–2019)[4][5]
พรรคการเมืองศรีลังกาโปทุชนะเปรมุณะ
คู่สมรสไอโอมะ ราชปักษะ
บุพการีดอน อัลวิน ราชปักษะ (พ่อ)
ทันทินะ สมรสิงหะ (สกุลเดิม ทิสสนายก; แม่)
ความสัมพันธ์จามัล (พี่ชาย)
มหินทะ (พี่ชาย)
พสิล (น้องชาย)
การศึกษาวิทยาลัยกองทัพศรีลังกา
มหาวิทยาลัยโคลัมโบ
เว็บไซต์gota.lk
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ศรีลังกา
สังกัดกองทัพบกศรีลังกา
ประจำการค.ศ. 1971–1991
ยศพันโท
หน่วยคชพา
บังคับบัญชาคชพาที่ 1
สถาบันกลาโหมนายพล เซอร์ จอห์น โกตวลา
ผ่านศึกสงครามกลางเมืองศรีลังกา
การก่อการกำเริบเจวีพีปี ค.ศ. 1987-89
รางวัล รานาวิกรมปัททักกมะ
รานาสุรปัททักกมะ

อ้างอิง แก้

  1. "CT finds Gota's true U.S. renunciation certificate". Ceylon Today. 1 August 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2019. สืบค้นเมื่อ 1 August 2019.
  2. "Police to probe Gota's citizenship, passports". Daily FT. Colombo, Sri Lanka. 10 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
  3. "Gota's Lanka citizenship in doubt, candidacy under cloud". The Island. Colombo, Sri Lanka. 22 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 June 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
  4. Singh, Anurangi (29 September 2019). "Gota's citizenship challenged in Court of Appeal". Sunday Observer. Colombo, Sri Lanka. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 February 2020. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
  5. "People want non-traditional politicians – Gotabhaya Rajapaksa". dailymirror.lk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 January 2019.
  6. "Sri Lanka: President Gotabaya has officially stepped down". Sri Lanka News - Newsfirst. 15 July 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2022. สืบค้นเมื่อ 15 July 2022.