Demosponge

ชั้นของฟองน้ำ
(เปลี่ยนทางจาก Demospongiae)

Demosponge (ชั้น Demospongiae) เป็นชั้นที่มีความหลากหลายที่สุดในไฟลัม Porifera ประกอบขึ้นจาก 76.2% ของสปีชีส์ฟองน้ำทั้งหมดโดยมีจำนวนสปีชีส์ทั่วโลกกว่า 8,800 (ตามข้อมูลของเวิร์ลพอริเฟอราเดตาเบส)[3] เป็นฟองน้ำที่มีร่างกายนุ่มปกคลุมโครงร่างแข็งซึ่งมักมีขนาดใหญ่ ประกอบขึ้นจากแคลเซียมคาร์บอเนต ซึ่งอาจเป็นอรากอไนต์หรือแคลไซต์ ส่วนมากมีโครงสร้างแบบลิวโคนอยด์ โครงร่างประกอบขึ้นจากขวาก (spicule) ที่เป็นเส้นใยของโปรตีนสปอนจิน, แร่ซิลิกา, หรือทั้งสองอย่าง หากมีขวากที่เป็นซิลิกา ฟองน้ำชนิดนี้จะมีรูปร่างที่ต่างไปจากฟองน้ำแก้ว ที่ควรจะมีรูปร่างคล้ายกัน[4] บางสปีชีส์ โดยเฉพาะที่อยู่ในแอนตาร์กติก ได้รับซิลิกาสำหรับการสร้างขวากจากการกลืนกินไดอะตอมที่มีซิลิกา[5]

Demosponge
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: Cambrian Stage 3 – present
ฟองน้ำในรูปได้แก่ฟองน้ำท่อสีเหลือง Aplysina fistularis, ฟองน้ำครกสีม่วง Niphates digitalis, ฟองน้ำลายตาข่ายสีแดง Spiratrella coccinea, และฟองน้ำเชือกสีเทา Callyspongia sp.
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
Animalia
ไฟลัม: Porifera
Porifera
ชั้น: Demospongiae
Demospongiae
Sollas, 1885
Subclasses
ฟองน้ำต้นลูกปิงปอง Chondrocladia lampadiglobus ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อ[1][2]
Monanchora arbuscula (Poecilosclerida)
Geodia barretti (Tetractinellida)
Chondrosia reniformis (Chondrosiida)
Spongia officinalis (Dictyoceratida)
Spongilla lacustris (Spongillida)

อ้างอิง

แก้
  1. * Vacelet, J. (2006). "New carnivorous sponges (Porifera, Poecilosclerida) collected from manned submersibles in the deep Pacific". Zoological Journal of the Linnean Society 148: 553–584. Figure 17. doi:10.1111/j.1096-3642.2006.00234.x
  2. Van Soest, Rob W. M.; Boury-Esnault, Nicole; Vacelet, Jean; Dohrmann, Martin; Erpenbeck, Dirk; De Voogd, Nicole J.; Santodomingo, Nadiezhda; Vanhoorne, Bart; Kelly, Michelle; Hooper, John N. A. (2012). "Global Diversity of Sponges (Porifera)". PLOS ONE. 7 (4): e35105. Bibcode:2012PLoSO...735105V. doi:10.1371/journal.pone.0035105. PMC 3338747. PMID 22558119.
  3. "World Porifera Database". marinespecies.org. สืบค้นเมื่อ 21 October 2015.
  4. Barnes, Robert D. (1982). Invertebrate Zoology. Philadelphia, PA: Holt-Saunders International. pp. 105–106. ISBN 978-0-03-056747-6.
  5. Riesgo, Ana; Taboada, Sergi; Kenny, Nathan J.; Santodomingo, Nadia; Moles, Juan; Leiva, Carlos; Cox, Eileen; Avila, Conxita; Cardona, Luis; Maldonado, Manuel (2021). "Recycling resources: silica of diatom frustules as a source for spicule building in Antarctic siliceous demosponges". Zoological Journal of the Linnean Society. 192 (2): 259–276. doi:10.1093/zoolinnean/zlaa058.