วงศ์ทานตะวัน

(เปลี่ยนทางจาก Compositae)

วงศ์ทานตะวัน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Asteraceae หรือ Compositae[5]) จัดเป็นวงศ์ของพืชมีดอกที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวาง[6][7] มีสมาชิกมากกว่า 23,000 สปีชีส์ แบ่งย่อยเป็นวงศ์ย่อย 12 วงศ์ย่อยและ 1,620 สกุล ลักษณะเฉพาะของพืชวงศ์นี้คือดอกแบบคอมโพสิท ที่เป็นช่อกระจุก และมีกลีบดอกแผ่อยู่รอบ ๆ แบบดอกทานตะวัน หุ้มด้วยริ้วประดับแบบเกล็ดปลา คำว่า "Asteraceae" มาจาก Aster ซึ่งเป็นสกุลที่เด่นที่สุดของวงศ์นี้ โดยมาจากภาษากรีก ἀστήρ หมายถึงดาว ชื่อเดิมของวงศ์นี้คือ "Compositae" ซึ่งเป็นการสื่อถึงการที่มีดอกแบบคอมโพสิท[8] พืชในวงศ์นี้มีความสำคัญทางระบบนิเวศและเศรษฐกิจ

วงศ์ทานตะวัน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 76–0Ma Campanian[1]–ปัจจุบัน
วงศ์ทานตะวันสิบสองสปีชีส์จากวงศ์ย่อย Asteroideae, Carduoideae และ Cichorioideae
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอต
Eukaryota
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophytes
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
เคลด: แอสเทอริด
Asterids
อันดับ: อันดับทานตะวัน
Asterales
วงศ์: วงศ์ทานตะวัน
Asteraceae
Bercht. & J.Presl[2]
สกุลต้นแบบ
Aster
L.
วงศ์ย่อย[ต้องการอ้างอิง]
ความหลากหลาย[3]
1,911 สกุล
ชื่อพ้อง[4]
  • Compositae Giseke
  • Acarnaceae Link
  • Ambrosiaceae Bercht. & J.Presl
  • Anthemidaceae Bercht. & J.Presl
  • Aposeridaceae Raf.
  • Arctotidaceae Bercht. & J.Presl
  • Artemisiaceae Martinov
  • Athanasiaceae Martinov
  • Calendulaceae Bercht. & J.Presl
  • Carduaceae Bercht. & J.Presl
  • Cassiniaceae Sch.Bip.
  • Cichoriaceae Juss.
  • Coreopsidaceae Link
  • Cynaraceae Spenn.
  • Echinopaceae Bercht. & J.Presl
  • Eupatoriaceae Bercht. & J.Presl
  • Helichrysaceae Link
  • Inulaceae Bercht. & J.Presl
  • Lactucaceae Drude
  • Mutisiaceae Burnett
  • Partheniaceae Link
  • Perdiciaceae Link
  • Senecionaceae Bercht. & J.Presl
  • Vernoniaceae Burmeist.

รูปภาพ

แก้
 
แผนภาพดอกของ Carduus (Carduoideae) แสดงริ้วประดับ กลีบเลี้ยงติดเป็นวงศ์ เกสรตัวผู้เชื่อมกับกลีบดอก ชั้นของเกสรตัวเมียที่มีกลีบเลี้ยงสองอับและโลคุล 1 อัน
 
ลักษณะของดอกในวงศ์ทานตะวัน (แสดงดอกของ Bidens torta)
 
ดอกย่อยแบบเรย์ ฟลอเรท
 
ดอกย่อยแบบดิสซ์ ฟลอเรท

อ้างอิง

แก้
  1. Barreda, Viviana D.; Palazzesi, Luis; Tellería, Maria C.; Olivero, Eduardo B.; Raine, J. Ian; Forest, Félix (2015). "Early evolution of the angiosperm clade Asteraceae in the Cretaceous of Antarctica". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 112 (35): 10989–10994. Bibcode:2015PNAS..11210989B. doi:10.1073/pnas.1423653112. PMC 4568267. PMID 26261324.
  2. แม่แบบ:Tropicos
  3. "The Plant List: Compositae". The Plant List (www.theplantlist.org). Royal Botanic Gardens Kew and Missouri Botanic Garden. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-11. สืบค้นเมื่อ 18 November 2016.
  4. "Family: Asteraceae Bercht. & J. Presl, nom. cons". Germplasm Resources Information Network (GRIN) (www.ars-grin.gov). Beltsville, Maryland: USDA, ARS, National Genetic Resources Program, National Germplasm Resources Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2008. สืบค้นเมื่อ 12 June 2008.
  5. "Asteraceae in Flora of North America @ efloras.org". www.efloras.org. สืบค้นเมื่อ 2022-03-20.
  6. Stevens, P. F. (2001 onwards) Angiosperm Phylogeny Website. Version 9, June 2008 http://www.mobot.org/mobot/research/apweb/welcome.html
  7. Jeffrey, C. 2007. Compositae: Introduction with key to tribes. Pages 61-87 in Families and Genera of Vascular Plants, vol. VIII, Flowering Plants, Eudicots, Asterales (J. W. Kadereit and C. Jeffrey, eds.). Springer-Verlag, Berlin
  8. International Code of Botanical Nomenclature. In point 18/5 states: "The following names, used traditionaly, are considered valid: Compositae (Asteraceae...).

บรรณานุกรม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Asteraceae
  •   ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ วงศ์ทานตะวัน ที่วิกิสปีชีส์