กรดแอสปาร์ติก
กรดแอสปาร์ติก (อังกฤษ: Aspartic acid) ย่อว่า Asp หรือ D[3] เป็นกรดอะมิโน-α ด้วยสูตรเคมี HOOCCH(NH2)CH2COOH คาร์บอไซเลต แอนไอออน, เกลือ หรือเอสเทอร์ของกรดแอสปาร์ติกที่เรียกว่า แอสปาร์เตต แอล-ไอโซเมอร์ ของแอสปาร์ติกเป็นหนึ่งในกรดอะมิโนโปรเตไอโนเกนิค 20 ตัว กล่าวคือ เป็นหน่วยการสร้างโปรตีน โคดอนของมันเป็น GAU และ GAC
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC names
Trivial: Aspartic acid
Systematic: 2-Aminobutanedioic acid | |
ชื่ออื่น
Aminosuccinic acid, asparagic acid, asparaginic acid[1]
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.000.265 |
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C4H7NO4 | |
มวลโมเลกุล | 133.103 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | colourless crystals |
ความหนาแน่น | 1.7 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 270°C |
จุดเดือด | 324°C (decomposes) |
4.5 g/L [2] | |
pKa | 3.9 |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
การค้นพบ
แก้กรดแอสปาร์ติก ค้นพบครั้งแรกในปี 1827 โดย พริสสัน ที่ได้มาจากแอสปาราจีน ซึ่งแยกออกมาจากน้ำหน่อไม้ฝรั่งในปี 1806 โดยการต้มที่มีฐาน[4]
บทบาทในการสังเคราะห์กรดอะมิโน
แก้กรดแอสปาร์ติก ไม่จำเป็นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มีการผลิตจากออกซาโลแอคเตรต โดยการทรานส์อะมิเนชัน นอกจากนี้ยังสามารถสร้างขึ้นจากออร์ไนธีน และซิทรูลีน ในวัฏจักรยูเรีย ในพืชและจุลินทรีย์ แอสปาร์เตต เป็นสารตั้งต้นให้กรดอะมิโนหลาย ๆ อย่างรวมทั้งสี่ อย่างที่จำเป็นต่อมนุษย์ ไดแก่ เมธไอโอนิน ,ทรีโอนีน ,ไอโซลียูซีน และไลซีน แอสเปราจีน ได้มาจาก แอสปาร์เตต ผ่านการทรานส์อะมิเนชัน ไดแก่
- -O2CCH(NH2)CH2CO2- + GC(O)NH3+ O2CCH(NH2)CH2CONH3+ + GC(O)O
อ้างอิง
แก้- ↑ "862. Aspartic acid". The Merck Index (11th ed.). 1989. p. 132. ISBN 0-911910-28-X.
- ↑ http://www.inchem.org/documents/icsc/icsc/eics1439.htm
- ↑ แม่แบบ:IUPAC-IUB amino acids 1983.
- ↑ R.H.A. Plimmer (1912) [1908]. R.H.A. Plimmer & F.G. Hopkins (บ.ก.). The chemical composition of the proteins. Monographs on biochemistry. Vol. Part I. Analysis (2nd ed.). London: Longmans, Green and Co. p. 112. สืบค้นเมื่อ January 18, 2010.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- American Chemical Society (21 April 2010). "Ancestral Eve' Crystal May Explain Origin of Life's Left-Handedness". ScienceDaily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-04-23. สืบค้นเมื่อ 2010-04-21.