ไตรสิกขา
ส่วนหนึ่งของ | |
ศาสดา | |
จุดมุ่งหมาย | |
นิพพาน | |
พระรัตนตรัย | |
หลักปฏิบัติ | |
ศีล · สมาธิ · ปัญญา สมถะ · วิปัสสนา บทสวดมนต์ | |
คัมภีร์ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก | |
หลักธรรม | |
ไตรลักษณ์ · อริยสัจ 4 · มรรค 8 · ปฏิจจสมุปบาท · มงคล 38 | |
นิกาย | |
เถรวาท · มหายาน · วัชรยาน | |
สังคม | |
ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน | |
การจาริกแสวงบุญ | |
สังเวชนียสถาน · การแสวงบุญในพุทธภูมิ | |
ดูเพิ่มเติม | |
คำศัพท์ หมวดหมู่ศาสนาพุทธ |
ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ
- อธิสีลสิกขา (Social Strengths) คือศึกษาเรื่องศีล การอบรมกายวาจาให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล
- อธิจิตตสิกขา (Temperance Strengths) คือศึกษาเรื่องจิต การอบรมจิตให้สงบเป็นขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ ด้วยการเจริญสมถกรรมฐาน
- อธิปัญญาสิกขา (Cognitive Strengths) คือศึกษาเรื่องปัญญา ศึกษาหาความรู้(สุตตามยปัญญา) การคิดด้วยโยนิโสมนสิการ(จินตามยปัญญา) การเจริญภาวนาวิปัสสนากรรมฐาน (ภาวนามยปัญญา)