แนวร่วมกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงสากล

แนวร่วมกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงสากล (อังกฤษ: International Red Cross and Red Crescent Movement) หรือ กาชาด (อังกฤษ: Red Cross) เป็นคำที่ใช้เรียกหน่วยงานสากลที่ประกอบด้วยอาสาสมัครจากทั่วโลกราว 97 ล้านคน[2] ที่มีจุดประสงค์ในพิทักษ์ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ การบรรเทาทุกข์และการรักษาพยาบาลโดยไม่เลือกชาติพันธุ์ เชื้อชาติ เพศ ความเชื่อทางศาสนา ระดับชั้นในสังคม หรือ ความคิดเห็นทางการเมือง

แนวร่วมกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงสากล
ตราสัญลักษณ์ของกาชาด ที่พิพิธภัณฑ์สภากาชาดในเจนีวาปี 2005
Red Cross, Red Crescent, Red Crystal logo
ตราสัญลักษณ์ของกาชาด ได้แก่ ตรากางเขนแดง, ตราเสี้ยววงเดือนแดง และตราคริสตัลแดง
สถานที่ที่องค์กรตั้งอยู่
รายละเอียดในแผนที่
  •   กาชาด
  •   วงเดือนแดง
  •   ดาราแห่งเดวิดแดง
  •   สภากาชาดที่ไม่ได้เป็นแนวร่วมกาชาดและเสี้ยววงเดือนแดงสากล
  •   สมาคมเสี้ยววงเดือนแดงที่ไม่ได้เป็นสหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ
ชื่อย่อไอซีอาร์ซี
คําขวัญละติน: Inter arma caritas,
Per humanitatem ad pacem
ก่อตั้ง
  • 9 กุมภาพันธ์ 1863; 161 ปีก่อน (1863-02-09) (คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ)
  • พฤษภาคม 1919; 104 ปีที่แล้ว (1919-05) (รูปแบบปัจจุบัน)
ประเภทองค์การนอกภาครัฐ, องค์กรไม่แสวงผลกำไร
วัตถุประสงค์มนุษยธรรมนิยม
ที่ตั้ง
ถิ่นดั้งเดิมเจนีวา
พื้นที่ให้บริการ
ทั่วโลก
สมาชิก
 สหประชาชาติ (สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ) คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ และสหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ
บุคลากรหลัก
เพเทอร์ เมาเรอร์
ลูกจ้าง
ป. 18,000 คน
อาสาสมัคร
ป. 16.4 ล้านคน[1]
รางวัล
เว็บไซต์www.icrc.org แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ

ตราสัญลักษณ์ที่ใช้โดยหน่วยงานนี้มีด้วยกันสามตรา มีรูปตรากากบาทแดง (Red Cross), ตราเสี้ยววงเดือนแดง (Red Crescent) และตราคริสตัลแดง (Red Crystal)

อ้างอิง แก้

  1. "Annual Report 2019 - International Federation of Red Cross and Red Crescent Societies". IFRC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-04. สืบค้นเมื่อ 2020-12-18.
  2. "American Red Cross: Understanding the Movement". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-26. สืบค้นเมื่อ 2009-09-05.

ดูเพิ่ม แก้