เวฟไลต์

แร่อะลูมิเนียมฟอสเฟตพื้นฐาน

เวฟไลต์เป็นแร่อะลูมิเนียมฟอสเฟตพื้นฐานที่มีสูตร Al3 (PO4)2 (OH, F)3·5H2O ผลึกมักจะเกิดขึ้นเป็นกระจุกทรงกลมสีเขียวโปร่งแสงหรือทรงกลม มีโอกาสที่ผลึกจะเกิดขึ้นแตกต่างไปจากนี้น้อยมาก[5]

เวฟไลต์
กลุ่มผลึกเวฟไลต์ จากเหมือง Mauldin Mountain Quarries, Mauldin Mt., Montgomery County, รัฐอาร์คันซอ
การจำแนก
ประเภทแร่ฟอสเฟต
สูตรเคมีAl3 (PO4)2 (OH,F)3·5H2O
คุณสมบัติ
สีเขียวจนถึงเหลืองเขียว, เขียวฟ้าจนถึงฟ้า, ฟ้า, เหลือง, น้ำตาล, ขาวและใส
รูปแบบผลึกSpherical, radial aggregates; striated prisms; crusty to stalactitic
โครงสร้างผลึกOrthorhombic
แนวแตกเรียบ[110] perfect, [101] good, [010] distinct
รอยแตกUneven to subconchoidal
ค่าความแข็ง3.5 - 4
ความวาววาวแบบแก้ว, ขุ่นมัวคล้ายมุก
ดรรชนีหักเหnα = 1.518 - 1.535 nβ = 1.524 - 1.543 nγ = 1.544 - 1.561
คุณสมบัติทางแสงBiaxial (+)
ค่าแสงหักเหสองแนวδ = 0.026
การเปลี่ยนสีWeak; X = greenish; Z = yellowish
สีผงละเอียดสีขาว
ความถ่วงจำเพาะ2.36
การหลอมตัวไม่สามารถละลายได้ พองตัวและแตกออกเมื่อให้ความร้อน
สภาพละลายได้ไม่ละลายน้ำ
ความโปร่งโปร่งแสง
อ้างอิง: [1][2][3][4]

การค้นพบ แก้

 
เวฟไลต์จากเหมือง Avant การ์แลนด์คันทรี รัฐอาร์คันซอ, แสดงโครงสร้างทรงกลม (ขนาด: 3.4 x 2.0 x 1.1 ซม.)

เวฟไลต์ได้รับการค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2348 ที่ High Down, Filleigh, เดวอน สหราชอาณาจักร และตั้งชื่อโดย William Babington ในปีค.ศ. 1805 เพื่อเป็นเกียรติแก่ Dr. William Wavell (1750–1829)[3] แพทย์ที่มีฐานประจำในเมืองเดวอน นักพฤกษศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ และนักธรรมชาติวิทยา ที่ได้นำแร่มาสู่ความสนใจของนักแร่วิทยาคนอื่นๆ[6][3][5][7]

การเกิด แก้

เกิดขึ้นร่วมกับแครนดัลไลต์และวาริสไซต์ในการแตกหักในหินแปรประเภทอะลูมินัสและในหินฟอสเฟต[1] พบได้ในสถานที่ต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะในภูเขาไอดา รัฐอาร์คันซอบริเวณเทือกเขาวาชิตา

บางครั้งเวฟไลต์ถูกนำไปใช้เป็นอัญมณีด้วยเช่นกัน

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Handbook of Mineralogy
  2. Webmineral
  3. 3.0 3.1 3.2 Mindat
  4. Klein, Corneis and Cornelius S. Hurlbut, Jr., Manual of Mineralogy, Wiley, 20th ed. 1985, p. 362-3 ISBN 0-471-80580-7
  5. 5.0 5.1   Chisholm, Hugh, บ.ก. (1911). "Wavellite" . สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. Vol. 28 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 430.
  6. Green, David; Cotterell, Tom; Jones, I.; Cox, D.; Cleevely, R. (2007). "Wavellite: its discovery and occurrences in the British Isles". UK Journal of Mines and Minerals. 28: 11–30.
  7. Curtis, Samuel and Hooker, William Jackson (1827). Memoirs of the Life and Writing of the Late Mr. William Curtis, Curtis's Botanical Magazine; or Flower Garden Displayed, v. 1 (new series), v-xxxii.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้