เมทโธมิล (อังกฤษ: Methomyl) เป็นสารกำจัดแมลงชนิดคาร์บาเมท (carbamate)[3] ที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ออกฤทธิ์กำจัดแมลงโดยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ cholinesterase[4] เมทโธมิลถูกใช้ในการกำจัด แมลง หนอนผีเสื้อ และ เพลี้ยอ่อน เมทโธมิลมีค่าความเป็นพิษ LD50 อยู่ที่ 17-24 (mg/kg)

เมทโธมิล[1]
Skeletal formula of (E)-Methomyl
Skeletal formula of (E)-Methomyl
(E)-Methomyl
Space-filling model of (E)-Methomyl
Space-filling model of (E)-Methomyl
Skeletal formula of (Z)-Methomyl
Skeletal formula of (Z)-Methomyl
(Z)-Methomyl
Space-filling model of (E)-Methomyl
Space-filling model of (E)-Methomyl
ชื่อ
IUPAC name
(E,Z)-methyl N-{[(methylamino)carbonyl]oxy}ethanimidothioate
ชื่ออื่น
Lannate, Mesomile, Methomex, Nudrin
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.037.089 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1S/C5H10N2O2S/c1-4(10-3)7-9-5(8)6-2/h1-3H3,(H,6,8) ☒N
    Key: UHXUZOCRWCRNSJ-UHFFFAOYSA-N ☒N
  • InChI=1/C5H10N2O2S/c1-4(10-3)7-9-5(8)6-2/h1-3H3,(H,6,8)
    Key: UHXUZOCRWCRNSJ-UHFFFAOYAU
  • CNC(=O)ON=C(C)SC
คุณสมบัติ
C5H10N2O2S
มวลโมเลกุล 162.20
ลักษณะทางกายภาพ White crystalline solid[2]
กลิ่น Slight, sulfur-like[2]
ความหนาแน่น 1.2946 g/cm3
จุดหลอมเหลว 78 ถึง 79 องศาเซลเซียส (172 ถึง 174 องศาฟาเรนไฮต์; 351 ถึง 352 เคลวิน)
58 g/L
ความดันไอ 0.00005 mmHg (25°C)[2]
ความอันตราย
จุดวาบไฟ Noncombustible[2]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
none[2]
REL (Recommended)
TWA 2.5 mg/m3[2]
IDLH (Immediate danger)
N.D.[2]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

การเก็บรักษา[5] แก้

ควรเก็บในที่เย็น แห้ง และมืด ในภาชนะที่ปิดสนิทโดยมีการปิดผนึกอย่างแน่นหนา เก็บให้ห่างจากสารเคมีที่ไม่เข้ากัน แหล่งเชื้อเพลิง หรือวัสดุไวไฟหรือแหล่งที่อาจก่อให้เกิดประกายไฟ

อ้างอิง แก้

  1. Merck Index, 11th Edition, 5905
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0387". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  3. Methomyl at Extension Toxicology Network
  4. [1] เก็บถาวร 2009-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ศูนย์ข้อมูลพิษวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-05-04.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้