เพลงไทย
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เพลงไทย หมายถึง เพลงที่มีทำนองเป็นเอกลักษณ์แบบไทย การบรรเลง การขับร้องที่เป็นแบบไทย และแต่งตามหลักของดนตรีไทย เพลงไทยที่ได้ยินกันอยู่มีทั้ง เพลงร้อง เพลงบรรเลง เป็นเพลงสั้นบ้าง ยาวบ้าง เป็นชุดบ้าง ช้าบ้าง เร็วบ้าง สำเนียงแปลก ๆ บ้าง ชื่อแปลก ๆ บ้าง เพลงไทยต่าง ๆ ที่บรรเลงกัน แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.เพลงบรรเลง คือ เพลงที่ใช้ดนตรีบรรเลงล้วน ๆ จะเป็นวงดนตรีชนิดใดก็ตาม เพลงประเภทนี้ ได้แก่ เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรื่อง เพลงหางเครื่อง (ท้ายเครื่อง) เพลงลูกบท และเพลงภาษา
2.เพลงขับร้อง คือ เพลงที่มีการขับร้องและมีดนตรีบรรเลงประกอบไปด้วย ในภาษานักดนตรีเรียกเพลงขับร้องว่า "เพลงรับร้อง" เพราะใช้ดนตรีรับการขับร้อง หรือ "การร้องส่ง" ก็เรียกกัน เพราะร้องแล้วส่งให้ดนตรีรับ เพลงประเภทนี้ ได้แก่ เพลงเถา เพลงดับ เพลงเกล็ด และเพลงเบ็ดเตล็ด
ประเภทของเพลงไทยแก้ไข
1.เพลงบรรเลง แบ่งเป็น
2.เพลงขับร้อง แบ่งเป็น
บทความเกี่ยวกับเพลง ดนตรี หรือ เครื่องดนตรีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ดนตรี |