เกาะแรงเกล (อังกฤษ: Wrangel Island; รัสเซีย: О́стров Вра́нгеля, อักษรโรมัน: Ostrov Vrangelya, สัทอักษรสากล: [ˈostrəf ˈvrangʲɪlʲə]; ชูคอต: Умӄиԓир, อักษรโรมัน: Umqiḷir, IPA: [umqiɬir]) เป็นเกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ระหว่างทะเลชุกชีกับทะเลไซบีเรียตะวันออก จริง ๆ แล้ว เกาะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา ซึ่งเป็นเส้นแบ่งเขตวันสากล แต่เส้นนี้ได้เบี่ยงไปทางทิศตะวันออกเพื่อหนีเกาะนี้ (รวมถึงคาบสมุทรชุกชีบนแผ่นดินใหญ่รัสเซีย) เกาะที่อยู่ใกล้เกาะแรงเกิลที่สุด คือเกาะเล็ก ๆ ที่ชื่อ เกาะเฮอรัลด์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก อยู่ห่างราว 60 กิโลเมตร (32 ไมล์ทะเล)[1] เกาะแรงเกลเป็นสถานที่อยู่อาศัยของช้างแมมมอธตัวสุดท้ายบนโลกนี้

เกาะแรงเกล
ชื่อท้องถิ่น:
เกาะแรงเกลในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2018
ที่ตั้งของเกาะแรงเกล
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งใกล้ทะเลชุกชี
พิกัด71°14′N 179°25′W / 71.233°N 179.417°W / 71.233; -179.417
พื้นที่7,600 ตารางกิโลเมตร (2,900 ตารางไมล์)
ระดับสูงสุด1,096 ม. (3596 ฟุต)
จุดสูงสุดเขาโซเวียต
การปกครอง
เขตสหพันธ์ตะวันออกไกล
เขตปกครองตนเองชูคอตคา
ประชากรศาสตร์
ประชากร0
ชื่อที่ขึ้นทะเบียนNatural System of Wrangel Island Reserve
ประเภทธรรมชาติ
เกณฑ์ix, x
ขึ้นเมื่อ2004 (สมัยที่ 28)
เลขอ้างอิง1023rev
ภูมิภาคเอเชีย

ภูมิอากาศ

แก้

เกาะแรงเกลมีสภาพภูมิอากาศขั้วโลกสุดขั้ว (เคิพเพิน ET)

ข้อมูลภูมิอากาศของเกาะแรงเกิล
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 1.5
(34.7)
-0.2
(31.6)
0.2
(32.4)
2.5
(36.5)
9.6
(49.3)
17.6
(63.7)
18.2
(64.8)
16.7
(62.1)
12.7
(54.9)
9.3
(48.7)
2.4
(36.3)
2.0
(35.6)
18.2
(64.8)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -18.5
(-1.3)
-18.7
(-1.7)
-17.4
(0.7)
-11.7
(10.9)
-2.5
(27.5)
3.8
(38.8)
6.5
(43.7)
5.6
(42.1)
2.8
(37)
-2.4
(27.7)
-8.4
(16.9)
-15.5
(4.1)
−6.37
(20.54)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -21.8
(-7.2)
-22.2
(-8)
-21.0
(-5.8)
-15.2
(4.6)
-5.1
(22.8)
1.2
(34.2)
3.6
(38.5)
3.2
(37.8)
1.0
(33.8)
-4.2
(24.4)
-10.8
(12.6)
-18.2
(-0.8)
−9.13
(15.58)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -25.1
(-13.2)
-25.7
(-14.3)
-24.5
(-12.1)
-18.8
(-1.8)
-7.5
(18.5)
-0.7
(30.7)
1.4
(34.5)
1.4
(34.5)
-0.7
(30.7)
-6.3
(20.7)
-13.5
(7.7)
-21.0
(-5.8)
−11.75
(10.85)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -42.0
(-43.6)
-44.6
(-48.3)
-45.0
(-49)
-38.2
(-36.8)
-31.5
(-24.7)
-12.3
(9.9)
-4.9
(23.2)
-6.5
(20.3)
-14.6
(5.7)
-29.8
(-21.6)
-34.9
(-30.8)
-57.7
(-71.9)
−57.7
(−71.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 9.1
(0.358)
10.2
(0.402)
7.6
(0.299)
6.7
(0.264)
7.9
(0.311)
9.3
(0.366)
21.5
(0.846)
22.3
(0.878)
16.3
(0.642)
16.1
(0.634)
11.5
(0.453)
9.4
(0.37)
147.9
(5.823)
ความชื้นร้อยละ 79 80 80 81 85 87 88 89 86 81 79 79 83
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 0.1 0.2 0.03 0.3 4 9 14 17 11 2 1 0.2 59
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 13 13 12 14 17 9 3 6 15 22 16 13 153
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 2 59 195 267 199 233 226 125 73 50 4 0 1,433
แหล่งที่มา 1: Климат о. Врангеля[2]
แหล่งที่มา 2: NOAA (ดวงอาทิตย์ 1961–1990)[3]

อ้างอิง

แก้
  1. Kosko, M.K., M.P. Cecile, J.C. Harrison, V.G. Ganelin, N.V., Khandoshko, and B.G. Lopatin, 1993, Geology of Wrangel Island, Between Chukchi and East Siberian Seas, Northeastern Russia. Bulletin 461, Geological Survey of Canada, Ottawa Ontario, 101 pp.
  2. Климат о. Врангеля (ภาษารัสเซีย). Weather and Climate (Погода и климат). สืบค้นเมื่อ February 28, 2016.
  3. "Vrangelja Island (Wrangel Island) Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 28 February 2016.

ผลงานอ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Wrangel Island