อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022

การแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 17 ของทัวร์นาเมนต์ เริ่มทำการแข่งขันในช่วงเดือนเมษายน ค.ศ. 2022 ในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย[1][2]

อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
เมืองกรุงเทพมหานคร
วันที่2 – 10 เมษายน พ.ศ. 2565
ทีม9
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติไทย ไทย (สมัยที่ 16)
รองชนะเลิศธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย
อันดับที่ 3ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม
อันดับที่ 4ธงชาติประเทศพม่า พม่า
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน20
จำนวนประตู161 (8.05 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,205 (60 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดไทย มูฮัมหมัด อุสมานมูซา
(11 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมไทย กฤษดา วงษ์แก้ว
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอินโดนีเซีย Muhammad Albagir
2019
2023

3 ทีมที่ดีที่สุดของทัวร์นาเมนต์จะได้สิทธิ์เข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 ใน ประเทศคูเวต เป็นตัวแทนของเอเอฟเอฟ

ทีมที่ผ่านรอบคัดเลือก

แก้

ไม่มีการคัดเลือกทุกทีมสามารถเข้ามาเล่นในรอบสุดท้าย โดยมี 9 ทีมจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนมาเข้าร่วมแข่งขัน บรูไน กลับเข้ามาสำหรับทัวร์นาเมนต์นี้หลังจากหายไป 4 ปี นับตั้งแต่การลงสนามครั้งล่าสุดใน อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2018[3]

ทีม สมาคม เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  ไทย สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 16 ครั้ง ชนะเลิศ (2001, 2003, 2005, 2006, 2007, 2008, 2009, 2012, 2013, 2014, 2015, 2016, 2017, 2018, 2019, 2022)
  อินโดนีเซีย เอฟเอ อินโดนีเซีย 15 ครั้ง ชนะเลิศ (2010)
  มาเลเซีย เอฟเอ มาเลเซีย 17 ครั้ง รองชนะเลิศ (2003, 2005, 2010, 2017, 2018)
  ออสเตรเลีย เอฟเอฟ ออสเตรเลีย 6 ครั้ง รองชนะเลิศ (2007, 2013, 2014, 2015)
  เวียดนาม เวียดนาม เอฟเอฟ 14 ครั้ง รองชนะเลิศ (2009, 2012)
  พม่า เมียนมาร์ เอฟเอฟ 14 ครั้ง รองชนะเลิศ (2016)
  บรูไน เอฟเอ บรูไน ดารุสซาลาม 14 ครั้ง อันดับ 4 (2001, 2005 และ 2008)
  กัมพูชา เอฟเอฟ กัมพูชา 6 ครั้ง อันดับ 4 (2003, 2006)
  ติมอร์-เลสเต เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต 10 ครั้ง อันดับ 4 (2016)
ไม่ได้เข้าร่วม
  ลาว
  ฟิลิปปินส์
  สิงคโปร์

สนามแข่งขัน

แก้

ทุกนัดทั้งหมดจะจัดขึ้นใน อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก, กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ความจุ: 8,000
 

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น UTC+7

กลุ่ม เอ

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ไทย (H) 4 3 1 0 35 4 +31 10 รอบแพ้คัดออก
2   อินโดนีเซีย 4 3 1 0 30 5 +25 10
3   มาเลเซีย 4 2 0 2 20 15 +5 6
4   กัมพูชา 4 0 1 3 10 36 −26 1
5   บรูไน 4 0 1 3 2 37 −35 1
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
(H) เจ้าภาพ.
มาเลเซีย  7–6  กัมพูชา
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
ไทย  13–0  บรูไน
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
บรูไน  0–12  อินโดนีเซีย
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
บรูไน  2–2  กัมพูชา
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
มาเลเซีย  10–0  บรูไน
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
กัมพูชา  2–11  อินโดนีเซีย
รายงาน (เอเอฟเอฟ)

กลุ่ม บี

แก้
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   พม่า 3 2 1 0 17 5 +12 7 รอบแพ้คัดออก
2   เวียดนาม 3 2 1 0 13 3 +10 7
3   ออสเตรเลีย 3 1 0 2 9 15 −6 3
4   ติมอร์-เลสเต 2 0 0 2 5 14 −9 0
แหล่งที่มา : เอเอฟเอฟ
ติมอร์-เลสเต  4–7  ออสเตรเลีย
รายงาน (เอเอฟเอฟ)
ออสเตรเลีย  1–6  พม่า
รายงาน (เอเอฟเอฟ)

รอบแพ้คัดออก

แก้

สายการแข่งขัน

แก้
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร
 
 
  พม่า1
 
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร
 
  อินโดนีเซีย6
 
  อินโดนีเซีย 2 (3)
 
8 เมษายน – กรุงเทพมหานคร
 
  ไทย
(ลูกโทษ)
2 (5)
 
  ไทย3
 
 
  เวียดนาม1
 
รอบชิงอันดับที่สาม
 
 
10 เมษายน – กรุงเทพมหานคร
 
 
  พม่า 1 (1)
 
 
  เวียดนาม
(ลูกโทษ)
1 (4)

รอบรองชนะเลิศ

แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.

นัดชิงอันดับที่สาม

แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

ผู้ชนะ

แก้
 ผู้ชนะการแข่งขันอาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 
 
ไทย
ครั้งที่ 16

อันดับดาวซัลโว

แก้

มีการทำประตู 149 ประตู จากการแข่งขัน 17 นัด เฉลี่ย 8.76 ประตูต่อนัด


การทำประตู 11 ครั้ง

การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 7 ครั้ง

การทำประตู 6 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 2 ครั้ง

  •   Khalil Saab (ในนัดที่พบกับ อินโดนีเซีย และ กัมพูชา)
  •   Ros Sichamroeun (ในนัดที่พบกับ มาเลเซีย)

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

แก้

ด้านล่างนี้คือทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.

ทีม เข้ารอบในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมาใน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย
  ไทย ชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 8 เมษายน พ.ศ. 2565 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
  อินโดนีเซีย รองชนะเลิศ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 8 เมษายน พ.ศ. 2565 รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2004, 2005, 2006, 2008, 2010, 2012, 2014)
  เวียดนาม อันดับ 3 อาเซียนฟุตซอลแชมเปียนชิพ 2022 10 เมษายน พ.ศ. 2565 อันดับ 4 (2016)

ลิขสิทธิ์การถ่ายทอดสด

แก้
ประเทศ/โซน สถานีการถ่ายทอด
  อาเซียน เฟซบุ๊ก เพจ : Futsal Thailand - ฟุตซอล ไทยแลนด์
  กัมพูชา Hang Meas HDTV
  อินโดนีเซีย MNC Sports, RCTI, INews
  มาเลเซีย Astro Arena
  ไทย 9 MCOT HD, T Sport 7
  เวียดนาม On Sports TV
  ออสเตรเลีย My Football

อ้างอิง

แก้
  1. "Champs Thailand in Group A of AFF Futsal". Asean Football Federation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
  2. "Groups finalised for AFF Futsal Championship 2022". Asian Football Confederation. 21 February 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.
  3. "Brunei DS to take part in five AFF events in 2022". Asean Football Federation. 5 January 2022. สืบค้นเมื่อ 22 February 2022.

ดูเพิ่ม

แก้