อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส

อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุส (เบลารุส: Беларускі арабскі алфавіт, Biełaruski arabski ałfavit (อักษรละติน) หรืออาราบิตซา (Арабіца, Arabitsa) เป็นระบบการเขียนด้วยอาหรับที่พัฒนาขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 20 -21 ประกอบด้วยอักษร 28 ตัวและอักษรเพิ่มเติมอีก 3 ตัว เพื่อแสดงหน่วยเสียงในภาษาเบลารุสที่ไม่มีในภาษาอาหรับ

กีตับ

อักษรอาหรับนี้ใช้โดยชาวลิปกา ตาตาร์ หรือชาวตาตาร์เบลารุสที่ได้รับเชิญให้เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเบลารุส ซึ่งในระหว่าง พุทธศตวรรษที่ 19 - 21 พวกเขาได้หยุดใช้ภาษาของตนเองและเริ่มใช้ ภาษาเบลารุสโบราณและเขัยนด้วยอักษรอาหรับ หนังสือที่เป็นวรรณคดีเรียก กีตับ (เบลารุส: "Кітаб"), ซึ่งมาจากภาษาอาหรับที่แปลว่า หนังสือ มีหนังสือภาษาโปแลนด์บางส่วนเขียนด้วยอักษรอาหรับ ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 22 [1]

อักษรที่เพิ่ม แก้

 
อักษรอาหรับสำหรับภาษาเบลารุสของอักษร-Zh
پ چ ژ
  • สำหรับเสียง /dz/ (дз) และ /ts/ (ц) จะใช้อักษรใหม่คือ:
ࢮ ࢯ‎ (   )

อักษรเหล่านี้ใช้ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21 - 25 เพื่อเขียนภาษาเบลารุสและภาษาโปแลนด์[1]

  • เสียง /w/ (ў) และ /v/ (в) จะแสดงด้วยเครื่องหมายเดียวกัน:
و

ตารางเปรียบเทียบ แก้

สระ แก้

สระจะแสดงด้วยเครื่องหมายการออกเสียงเช่นเดียวกันกับภาษาอาหรับ

พยัญชนะ แก้

อักษรซีริลลิก อักษรละติน อักษรอาหรับ
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
Б б B b ـب ـبـ بـ ب
В в V v ـو و
Г г H h ـه ـهـ هـ ه
Ґ ґ G g ـغ ـغـ غـ غ
Д д D d ـد د
Дж дж Dž dž ـج ـجـ جـ ج
Дзь дзь Dź dź ـࢮ ( )
Ж ж Ž ž ـژ ژ
З з Z z ـضـ ضـ ض
Зь зь Ź ź ـز ز
Й й J j ـى ـىـ ىـ ى
К к K k ـق ـقـ قـ ق
Кь кь Kj kj ـك ـكـ كـ ك
Л л, Ль ль Ł ł, L l ـل ـلـ لـ ل
М м M m ـم ـمـ مـ م
Н н, Нь нь N n, Ń ń ـن ـنـ نـ ن
П п P p ـپ ـپـ پـ پ
Р р R r ـر ر
С с S s ـص ـصـ صـ ص
Сь сь Ś ś ـث ـثـ ثـ ث
Т т T t ـط ـطـ طـ ط
Ть ть Tj tj ـت ـتـ تـ ت
Ў ў Ŭ ŭ ـو و
Ф ф F f ـف ـفـ فـ ف
Х х Ch ch ـح ـحـ حـ ح
Ц ц C c ـࢯ ـࢯـ ࢯـ ( )
Ць ць Ć ć ـس ـسـ سـ س
Ч ч Č č ـچ ـچـ چـ چ
Ш ш Š š ـش ـشـ شـ ش
ـعـ
ь


ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Ilya Yevlampiev, Karl Pentzlin and Nurlan Joomagueldinov, N4072 Revised Proposal to encode Arabic characters used for Bashkir, Belarusian, Crimean Tatar, and Tatar languages, ISO/IEC JTC1/SC2/WG2, 20 May 2011. [1]

อ่านเพิ่ม แก้

  • Akiner, Shirin. Religious Language of a Belarusian Tatar Kitab: A Cultural Monument of Islam in Europe. Otto Harrassowitz, 2009.
  • Д-р Я. Станкевіч. Беларускія мусульмане і беларуская літаратура арабскім пісьмом. [Адбітка з гадавіка Беларускага Навуковага Таварыства, кн. I.] – Вільня : Друкарня Я. Левіна, 1933 ; Менск : Беларускае коопэрацыйна-выдавецкае таварыства ″Адраджэньне″, 1991 [факсімільн.]. – 3-е выд.
  • Антон Антановіч, "Беларускія тэксты, пісаныя арабскім пісьмом"

แหล่งข้อมูลอื่น แก้