สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจี

(เปลี่ยนทางจาก สถานีศิวาจี)

สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจี (อังกฤษ: Chhatrapati Shivaji Terminus) หรือชื่อทางการ สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจีมหาราช (อังกฤษ: Chhatrapati Shivaji Maharaj Terminus) (รหัสสถานี CSTM (รถไฟสายหลัก)[3]/ST (รถไฟสายชานเมือง)) หรือชื่อเดิม สถานีปลายทางวิคตอเรีย (อังกฤษ: Victoria Terminus; รหัสสถานี: BBVT/VT[4]), เป็นสถานีรถไฟปลายทางเก่าแก่และแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกในมุมไบ รัฐมหาราษฏระ ประเทศอินเดีย ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษ เฟรเดริก วิลเลียม สตีเวนส์ ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมอิตาเลียนกอธิก เริ่มก่อสร้างในปี 1878 ทางใน้ของอดีตสถานีรถไฟโบรีบันเดอร์[5] สร้างแล้วเสร็จในปี 1887 ซึ่งเป็นปีแห่งพระราชพิธีเฉลิมฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปีของพระนางเจ้าวิคตอเรีย จึงตั้งชื่อสถานีนี้ว่าสถานีวิคตอเรียเพื่อเทิดพระเกียรติในวโรกาสนี้

สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจี
สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจีเมื่อปี 2019
แผนที่
ชื่อเดิม
  • สถานีปลายทางวิคตอเรีย
  • สถานีรถไฟโบรีบันเดอร์
ชื่ออื่นสถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจีมหาราช (ชื่อทางการ)
ข้อมูลทั่วไป
สถาปัตยกรรมอินโด-ซาราเซน, วิกตอเรียนกอธิกรีไววอล
ที่อยู่ฟอร์ท มุมไบ รัฐมหาราษฏระ 400001
เมืองมุมไบ, มหาราษฏระ
ประเทศอินเดีย
พิกัด18°56′23″N 72°50′07″E / 18.9398°N 72.8354°E / 18.9398; 72.8354
เริ่มสร้าง1878
แล้วเสร็จพฤษภาคม 1888; 136 ปีที่แล้ว (1888-05)[1]
ค่าก่อสร้าง1,614,000 (690,000 บาท)(at the time)
now 2,013 million (28.2 สิบล้านUS$)
ลูกค้าเซนตรัลเรลเวย์
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกเฟรเดริก วิลเลียม สตีเวนส์, อะเล็กซ์ เฮจ
วิศวกรวิลสัน เบลล์
เว็บไซต์
https://cr.indianrailways.gov.in/
เกณฑ์พิจารณาCultural: ii, iv
อ้างอิง945
ขึ้นทะเบียน2004 (สมัยที่ 28th)
สถานีปลายทางฉัตรปตีศิวาจี
สถานีปลายทางวิคตอเรีย
สถานีปลายทางการรถไฟอินเดีย
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งย่านฟอร์ต มุมไบ รัฐมหาราษฏระ 400001 อินเดีย
พิกัด18°56′23″N 72°50′08″E / 18.9398°N 72.8355°E / 18.9398; 72.8355
เจ้าของการรถไฟอินเดีย
ผู้ให้บริการเซนตรัลเรลเวย์
สายสายมุมไบ–นาคปุนะ–หาวรา
สายมุมไบ-เจนไน
ชานชาลา18
ทางวิ่งจำนวนมาก
การเชื่อมต่อ รถโดยสารประจำทาง
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างAt-grade
ระดับชานชาลา01
ที่จอดรถมี
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีแม่แบบ:Indian railway code
เว็บไซต์https://cr.indianrailways.gov.in/
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการพฤษภาคม 1853; 171 ปีที่แล้ว (1853-05)[1]
สร้างใหม่พฤษภาคม 1888; 136 ปีที่แล้ว (1888-05)[1]
ติดตั้งระบบไฟฟ้า25 kV AC 50 Hz
ชื่อเดิมสถานีรถไฟวิคตอเรีย
สถานีรถไฟโบรีบันเดอร์
ที่ตั้ง
มุมไบซีเอสทีตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
มุมไบซีเอสที
มุมไบซีเอสที
ที่ตั้งภายในประเทศอินเดีย
มุมไบซีเอสทีตั้งอยู่ในมุมไบ
มุมไบซีเอสที
มุมไบซีเอสที
มุมไบซีเอสที (มุมไบ)
up
สถานีปลายทาง
ฉัตรปตีศิวาจีมหาราช
สถานีรถไฟชานเมืองมุมไบ
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งย่านฟอร์ด มุมไบ มหาราษฏระ 400001 อินเดีย
พิกัด18°56′23″N 72°50′08″E / 18.9398°N 72.8355°E / 18.9398; 72.8355
เจ้าของการรถไฟอินเดีย
สายสายกลาง, สายฮาเบอร์
ชานชาลา18
ทางวิ่งMultiple
การเชื่อมต่อรถโดยสารประจำทาง มุมไบเมโทร
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างAt-grade
ระดับชานชาลา01
ที่จอดรถYes
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีแม่แบบ:Indian railway code
เขตค่าโดยสารกลาง
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ1853; 171 ปีที่แล้ว (1853)[1]
สร้างใหม่1887; 137 ปีที่แล้ว (1887)[1]
ติดตั้งระบบไฟฟ้า25 kV 50 Hz AC

ในเดือนมีนาคม 1996 ได้เปลี่ยนชื่อสถานีเป็น "ฉัตรปตีศิวาจี" ฉลองพระนามของจักรพรรดิศิวาจี นักรบในศตวรรษที่ 17 ผู้สู้รบกับจักรวรรดิโมกุลที่กำลังเสื่อมถอยในขณะนั้น และก่อตั้งรัฐใหม่ขึ้นมาในภูมิภาคที่ประชากรพูดภาษามราฐีทางตะวันตก[6][7][8] ที่ซึ่งต่อมาขยายตัวเป็นสหพันธรัฐมราฐา[9] และจักรวรรดิมราฐาในเวลาต่อมา[8] ก่อนที่นะพ่ายแพ้มห้กับจักรวรรดิอังกฤษในปี 1817–18 ในสงครามครั้งที่สามระหว่างมราฐาและอังกฤษ[10]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHS
  2. File:India Mumbai Victor Grigas 2011-15.jpg
  3. "Station Code Index" (PDF). Portal of Indian Railways. 2015. p. 46. สืบค้นเมื่อ 29 April 2019.
  4. "Central Railway Codes". Railway Station Codes. สืบค้นเมื่อ 1 June 2019.[ลิงก์เสีย]
  5. Aruṇa Ṭikekara, Aroon Tikekar (2006). The cloister's pale: a biography of the University of Mumbai. Popular Prakashan. p. 357. ISBN 81-7991-293-0.Page 64
  6. Eaton, Richard M. (25 July 2019). India in the Persianate Age: 1000-1765. Penguin Books Limited. pp. 198–. ISBN 978-0-14-196655-7. Quote: "Quote: "Amidst this fragmented political environment a new polity emerged in the Marathi-speaking western plateau. Its founder, the charismatic and politically gifted Maratha chieftain Shivaji Bhonsle (1630-80), repeatedly used courage and savvy to outmanoeuvre his adversaries."
  7. Kedourie, Elie (2013). Nationalism in Asia and Africa. Routledge. pp. 71–. ISBN 978-1-136-27613-2. Quote: "Tilak also inaugurated another cult by resuscitating the memory of Shivaji, the chieftain who had originally established Mahratta fortunes in contest with the Mughals."
  8. 8.0 8.1 Subramaniam, Arjun (2016). India's Wars: A Military History, 1947-1971. HarperCollins Publishers India. pp. 30–. ISBN 978-93-5177-750-2. Quote: "Quote: First was the purely home-bred guerrilla force under Shivaji. The courageous and wily Maratha chieftain along with his successors and, subsequently, the Peshwas, defied the Mughals and other Muslim invaders for almost a century from the latter half of the seventeenth century and expanded the Maratha Empire till it covered much of the Indian heartland.
  9. Schmidt, Karl J. (2015). An Atlas and Survey of South Asian History. Routledge. pp. 64–. ISBN 978-1-317-47681-8. Quote: "An important accomplishment of the second peshwa, Bajirao I (1720-40), son of Balaji Vishwanath, was the creation of a Maratha Confederacy. The large territories that the Marathas had come to possess by 1720 required firm administration and military control, and while Bajirao was ably capable of providing the former, he relied on four Maratha military leaders, Raghuji Bhonsle, Damaji Gaekwar, Malhar Rao Holkar, and Ranoji Sindhia, to provide the latter."
  10. Kumar, Ravinder (2013). Western India in the Nineteenth Century. Taylor & Francis. pp. 16–. ISBN 978-1-136-54564-1. Quote: "The growth of Maratha power was first checked at the battle of Panipat, which was fought in 1761. ... The initiative for the third and final round of hostilities (with the British) came from the Peshwa, despite the fact that in 1802 he had placed himself voluntarily under British protection. Spurred by memories of past glory, the Peshwa placed himself at the head of a combination which sought to rid the country of British control. However, his desperate attempt to reassert his independence ended in military disaster at Kirki near Poona in 1818. Under the terms of a peace settlement, the Peshwa retired as a state prisoner to Bithur near Kanpur, while the territories under his control were taken over bv the British government.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้