สตาร์ลิงก์ (โครงข่ายดาวเทียม)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของวิกิพีเดีย หรือกำลังดำเนินการอยู่ คุณช่วยเราได้ หน้าอภิปรายอาจมีข้อเสนอแนะ |
บทความ หรือส่วนนี้ ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการบินอวกาศล่าสุด หรือปัจจุบัน รายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงระหว่างการดำเนินไปของภารกิจ รายงานข่าวเบื้องต้นอาจจะเชื่อถือไม่ได้ ข้อมูลแก้ไขล่าสุดในบทความ หรือส่วนอาจจะไม่สะท้อนข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู โครงการวิกิการบินอวกาศ. |
สตาร์ลิงก์ (อังกฤษ: Starlink) เป็นโครงข่ายดาวเทียมเชิงพาณิชย์ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาโดยบริษัทสัญชาติอเมริกา สเปซเอ็กซ์[1][2] เพื่อพัฒนาดาวเทียมที่ต้นทุนต่ำ แต่ประสิทธิภาพสูง และรองรับตัวรับส่งสัญญาณภาคพื้นของผู้ใช้บริการ เพื่อให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียม[3][4] นอกจากนี้ สเปซเอ็กซ์ยังวางแผนที่จะขายดาวเทียม โดยอาจใช้ตัวดาวเทียม (Bus) ในทางการทหาร วิทยาศาสตร์ และการสำรวจอวกาศ[5]
โครงข่ายดาวเทียม สตาร์ลิงก์ | |
---|---|
ดาวเทียมStarlink 60 ดวงขณะกำลังเตรียมปล่อยออกจากจรวดขั้นที่ 2 ในวันที่ 24 พฤษภาคม ค.ศ.2019 | |
ประเภทภารกิจ | ดาวเทียมสื่อสาร |
ผู้ดำเนินการ | สเปซเอ็กซ์ |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ชนิดยานอวกาศ | Small satellite |
ผู้ผลิต | สเปซเอ็กซ์ |
มวลขณะส่งยาน | 227–260 kg (500–573 lb) |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ |
ระบบวงโคจร | วงโคจรต่ำของโลก |
ระดับความสูง | 335.9 - 1325 กม. |
ing | |
อ้างอิง
แก้- ↑ Hall, Shannon (1 June 2019). "After SpaceX Starlink Launch, a Fear of Satellites That Outnumber All Visible Stars - Images of the Starlink constellation in orbit have rattled astronomers around the world". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 1 June 2019.
- ↑ Grush, Loren (15 February 2018). "SpaceX is about to launch two of its space Internet satellites — the first of nearly 12,000". The Verge. สืบค้นเมื่อ 16 February 2018.
- ↑ Grush, Loren (15 February 2018). "SpaceX is about to launch two of its space Internet satellites — the first of nearly 12,000". The Verge. สืบค้นเมื่อ 16 February 2018.
- ↑ Gates, Dominic (16 January 2015). "Elon Musk touts launch of 'SpaceX Seattle'". Seattle Times. สืบค้นเมื่อ 19 January 2015.
- ↑ SpaceX Seattle 2015, 16 January 2015.