สงครามออตโตมัน-ฮังการี

สงครามออตโตมัน-ฮังการี (อังกฤษ: Ottoman–Hungarian Wars) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันระหว่างจักรวรรดิฮังการี และ ราชอาณาจักรฮังการี หลังจากสงครามกลางเมืองที่เกิดขึ้นในรัชสมัยการปกครองของจักรพรรดิโรมันราชวงศ์พาลาโอโลกอสแห่งจักรวรรดิไบแซนไทน์ ออตโตมันก็ยึดกาลลิโปลิ (Fall of Gallipoli) และได้รับชัยชนะในยุทธการคอซอวอซึ่งดูจะทำให้ออตโตมันอยู่ในฐานะที่สามารถยึดคาบสมุทรบอลข่านได้ทั้งหมด แต่การรุกรานของออตโตมันในเซอร์เบียทำให้ราชอาณาจักรฮังการีเข้าสู่สงครามในการต่อต้านออตโตมันเพราะทั้งสองฝ่ายต่างก็เห็นประโยชน์ร่วมกันในการยึดดินแดนต่างๆ ในคาบสมุทรบอลข่านที่รวมทั้ง อาณาจักรเดสโพเททเซอร์เบีย บัลแกเรีย ราชรัฐวาลเลเคีย และ ราชรัฐโมลดาเวีย

สงครามออตโตมัน-ฮังการี
ส่วนหนึ่งของ สงครามออตโตมันในยุโรป

การล้อมกรุงเบลเกรด ภาพเขียนจากคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยมีจิโอวานนิ ดา คาพิทราโน (Giovanนni da Capistrano) ยืนถือกลางเขนอยู่กลางภาพ
วันที่ค.ศ. 1366 - ค.ศ. 1526+[1]
สถานที่
ผล ฝ่ายออตโตมันได้รับชัยชนะ, แบ่งแยกราชอาณาจักรฮังการี
คู่สงคราม
กษัตริย์ฮังการี
พันธมิตรฮังการี:
โครเอเชีย (ส่วนหนึ่งของฮังการี)
ราชรัฐวาลเลเคีย
ราชรัฐโมลดาเวีย
อาณาจักรเดสโพเททเซอร์เบีย
League of Lezhë
ออตโตมันเติร์ก
รัฐบริวาร
กำลัง
100,000 คน
~20,000 คน[2] - 60,000 คน[3]

อ้างอิง

แก้
  1. The Kingdom ceased to exist as a de facto sovereign country after Mohacs but the Habsburg rulers remained the legitimate sovereign Kings of Hungary after the Diet of Bratislava
  2. Grant, R.G. (2005). Battle a Visual Journey Through 5000 Years of Combat. London: Dorling Kindersley. p. 122. The Hungarians, with Vlad the Impaler had some 30,000 men whilst at Mohacs there was roughly 20,000 men
  3. The Royal army for Mohacs had an initial strength of 60,000 before disease and desertion decimated it

ดูเพิ่ม

แก้