วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิง จำนวน 12 ทีม ภายใต้การกำกับดูแลการแข่งขันโดยคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ร่วมกับ สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (เอฟไอวีบี) และนับเป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 13 นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1964 จัดการแข่งขันระหว่างวันที่ 28 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม 2012 ที่อีเลส คอร์ต เอ็กฮิตบิชั่น เซนเตอร์ โดยวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติบราซิล สามารถคว้าเหรียญทองไปครองได้เป็นสมัยที่ 2

วอลเลย์บอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
วันที่28 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม
ทีม12
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 2)
รางวัล
ผู้เล่นทรงคุณค่าเกาหลีใต้ คิม ยอน-คยอง
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
2012 Summer Olympics Women's Volleyball
วอลเลย์บอล
โอลิมปิกฤดูร้อน 2012
อินดอร์
การแข่งขัน   ชาย   หญิง
Rosters   ชาย   หญิง
ชายหาด
การแข่งขัน ชาย หญิง

การคัดเลือก แก้

การแข่งขัน วันที่ สนามแข่งขัน จำนวน ประเทศที่ผ่านการคัดเลือก
เจ้าภาพ เจ้าภาพ   สิงคโปร์ 1   บริเตนใหญ่
เวิลด์คัพ 2011 4–18 พฤศจิกายน 2011   ญี่ปุ่น 3   อิตาลี
  สหรัฐ
  จีน
รอบคัดเลือกโซนแอฟริกา 2–4 กุมภาพันธ์ 2012   บลีดา 1   แอลจีเรีย
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาเหนือ 29 เม.ย. – 5 พ.ค. 2012   ตีฮัวนา 1   สาธารณรัฐโดมินิกัน
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 1–6 พฤษภาคม 2012   อังการา 1   ตุรกี
รอบคัดเลือกโซนอเมริกาใต้ 9–13 พฤษภาคม 2012   เซาคาร์ลอส 1   บราซิล
รอบคัดเลือกโซนเอเชีย 19–27 พฤษภาคม 2012   โตเกียว 1   ญี่ปุ่น
รอบคัดเลือกระดับโลก 3   รัสเซีย
  เกาหลีใต้
  เซอร์เบีย
รวม 12
  • ทีมที่ได้รับเลือกจากทวีปเอเชียจะเป็นทีมมาจากการแข่งขันวอลเลย์บอลในโอลิมปิกรอบคัดเลือกระดับโลก โดยจะต้องเป็นทีมจากเอเชียที่อันดับดีที่สุดนับตั้งแต่ลำดับที่ 4 ลงมา

การแบ่งกลุ่ม แก้

กลุ่ม A กลุ่ม B
  บริเตนใหญ่ (เจ้าภาพ)   สหรัฐ (อันดับ 1 ของโลก)
  ญี่ปุ่น (อันดับ 3 ของโลก)   บราซิล (อันดับ 2 ของโลก)
  อิตาลี (อันดับ 4 ของโลก)   จีน (อันดับ 5 ของโลก)
  รัสเซีย (อันดับ 7 ของโลก)   เซอร์เบีย (อันดับ 6 ของโลก)
  สาธารณรัฐโดมินิกัน (อันดับ 9 ของโลก)   ตุรกี (อันดับ 11 ของโลก)
  แอลจีเรีย (อันดับ 16 ของโลก)   เกาหลีใต้ (อันดับ 13 ของโลก)

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น

กลุ่ม A แก้

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   รัสเซีย 14 5 0 459 352 1.304 15 4 3.750
2   อิตาลี 13 4 1 442 368 1.201 14 5 2.800
3   ญี่ปุ่น 9 3 2 401 335 1.197 11 6 1.833
4   สาธารณรัฐโดมินิกัน 6 2 3 374 362 1.033 8 9 0.889
5   บริเตนใหญ่ 2 1 4 295 396 0.745 3 14 0.214
6   แอลจีเรีย 1 0 5 252 410 0.615 2 15 0.133
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 Jul 09:30 แอลจีเรีย   0–3   ญี่ปุ่น 15–25 14–25 7–25     36–75 P2 P3
28 Jul 14:45 บริเตนใหญ่   0–3   รัสเซีย 19–25 10–25 16–25     45–75 P2 P3
28 Jul 16:45 อิตาลี   3–1   สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–17 23–25 25–19 25–15   98–76 P2 P3
30 Jul 14:45 สาธารณรัฐโดมินิกัน   1–3   รัสเซีย 23–25 15–25 26–24 22–25   86–99 P2 P3
30 Jul 20:00 อิตาลี   3–1   ญี่ปุ่น 25–22 25–21 20–25 25–22   95–90 P2 P3
30 Jul 22:20 บริเตนใหญ่   3–2   แอลจีเรีย 22–25 25–19 23–25 25–19 15–8 110–96 P2 P3
01 Aug 09:30 สาธารณรัฐโดมินิกัน   0–3   ญี่ปุ่น 20–25 19–25 23–25     62–75 P2 P3
01 Aug 11:30 แอลจีเรีย   0–3   รัสเซีย 7–25 14–25 15–25     36–75 P2 P3
01 Aug 16:45 บริเตนใหญ่   0–3   อิตาลี 25–27 12–25 12–25     49–75 P2 P3
03 Aug 12:25 ญี่ปุ่น   1–3   รัสเซีย 25–27 17–25 25–20 19–25   86–97 P2 P3
03 Aug 16:45 บริเตนใหญ่   0–3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 9–25 18–25 19–25     46–75 P2 P3
03 Aug 22:00 แอลจีเรีย   0–3   อิตาลี 11–25 12–25 17–25     40–75 P2 P3
05 Aug 09:30 แอลจีเรีย   0–3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 15–25 16–25 13–25     44–75 P2 P3
05 Aug 14:45 บริเตนใหญ่   0–3   ญี่ปุ่น 19–25 14–25 12–25     45–75 P2 P3
05 Aug 16:45 อิตาลี   2–3   รัสเซีย 28–26 19–25 25–22 16–25 11–15 99–113 P2 P3

กลุ่ม B แก้

แต้ม แข่ง เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   สหรัฐ 15 5 0 426 345 1.235 15 2 7.500
2   จีน 9 3 2 475 461 1.030 11 10 1.100
3   เกาหลีใต้ 8 2 3 449 452 0.993 11 10 1.100
4   บราซิล 7 3 2 447 420 1.064 10 10 1.000
5   ตุรกี 6 2 3 434 443 0.980 9 11 0.818
6   เซอร์เบีย 0 0 5 297 402 0.739 2 15 0.133
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
28 Jul 11:30 จีน   3–1   เซอร์เบีย 16–25 25–18 25–13 25–12   91–68 P2 P3
28 Jul 20:00 สหรัฐ   3–1   เกาหลีใต้ 25–19 25–17 20–25 25–21   95–82 P2 P3
28 Jul 22:30 บราซิล   3–2   ตุรกี 25–18 23–25 25–19 25–27 15–12 113–101 P2 P3
30 Jul 09:30 จีน   3–1   ตุรกี 25–20 25–20 29–31 25–22   104–93 P2 P3
30 Jul 12:00 เซอร์เบีย   1–3   เกาหลีใต้ 12–25 16–25 25–16 21–25   74–91 P2 P3
30 Jul 17:15 สหรัฐ   3–1   บราซิล 25–18 25–17 22–25 25–21   97–81 P2 P3
01 Aug 14:45 เซอร์เบีย   0–3   ตุรกี 20–25 12–25 21–25     53–75 P2 P3
01 Aug 20:00 สหรัฐ   3–0   จีน 26–24 25–16 31–29     82–69 P2 P3
01 Aug 22:05 บราซิล   0–3   เกาหลีใต้ 23–25 21–25 21–25     65–75 P2 P3
03 Aug 09:30 บราซิล   3–2   จีน 25–16 20–25 25–18 28–30 15–10 113–99 P2 P3
03 Aug 15:00 ตุรกี   3–2   เกาหลีใต้ 25–16 21–25 25–18 19–25 15–12 105–96 P2 P3
03 Aug 20:00 สหรัฐ   3–0   เซอร์เบีย 25–17 25–20 25–16     75–53 P2 P3
05 Aug 11:30 จีน   3–2   เกาหลีใต้ 28–26 22–25 25–19 22–25 15–10 112–105 P2 P3
05 Aug 20:00 สหรัฐ   3–0   ตุรกี 27–25 25–16 25–19     77–60 P2 P3
05 Aug 22:00 บราซิล   3–0   เซอร์เบีย 25–10 25–22 25–16     75–48 P2 P3

รอบสุดท้าย แก้

  • เวลาการแข่งขันเป็นเวลามาตรฐานในท้องถิ่น
รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
7 สิงหาคม        
   รัสเซีย  2
9 สิงหาคม
   บราซิล  3  
   บราซิล  3
7 สิงหาคม
     ญี่ปุ่น  0  
   จีน  2
11 สิงหาคม
   ญี่ปุ่น  3  
   บราซิล  3
7 สิงหาคม
     สหรัฐ  1
   อิตาลี  1
9 สิงหาคม
   เกาหลีใต้  3  
   เกาหลีใต้  0 รอบชิงอันดับที่ 3
7 สิงหาคม
     สหรัฐ  3  
   สหรัฐ  3    ญี่ปุ่น  3
   สาธารณรัฐโดมินิกัน  0      เกาหลีใต้  0
11 สิงหาคม

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
7 Aug 13:00 จีน   2–3   ญี่ปุ่น 26–28 25–23 23–25 25–23 16–18 115–117 P2 P3
7 Aug 15:50 รัสเซีย   2–3   บราซิล 26–24 22–25 25–19 22–25 19–21 114–114 P2 P3
7 Aug 19:10 สหรัฐ   3–0   สาธารณรัฐโดมินิกัน 25–14 25–21 25–22     75–57 P2 P3
7 Aug 21:05 อิตาลี   1–3   เกาหลีใต้ 25–18 21–25 20–25 18–25   84–93 P2 P3

รอบรองชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
9 Aug 15:00 เกาหลีใต้   0–3   สหรัฐ 20–25 22–25 22–25     64–75 P2 P3
9 Aug 19:30 บราซิล   3–0   ญี่ปุ่น 25–18 25–15 25–18     75–51 P2 P3

รอบชิงอันดับที่ 3 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 Aug 11:30 ญี่ปุ่น   3–0   เกาหลีใต้ 25–22 26–24 25–21     76–67 P2 P3

รอบชิงชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 รวม รายงาน
11 Aug 18:30 บราซิล   3–1   สหรัฐ 11–25 25–17 25–20 25–17   86–79 P2 P3

อันดับการแข่งขัน แก้

สรุปรายชื่อนักกีฬาที่ได้รับเหรียญ แก้

เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
  บราซิล
ฟาเบียนา คลาวดิโอ (กัปตันทีม)
ดาเนล ลินส์
พอลล่า พีเควโน
อเดนทิเซีย เดอ ซิลวา
ไทซ่า เมเนเกวส
จาเควลินส์ เคาวาโฮ
เฟอร์นันดา เฟอร์ริรา
ทันดารา ไคเตซา
นาตาเลีย เปริเวรา
เชลล่า คาสโตว์
ฟาเบียนา เดอ โอลิเวล่า
เฟอร์นันดา โรดิเกวส
  สหรัฐ
ดาเนล สก๊อต อารูดา
เทยีบา ฮาเนฟ พาร์ค
ลินซี่ เบิร์ก (กัปตันทีม)
ทามารี มิยาชิโร่
นิโคล เดวิส
จอร์แดน เลอสัน
เมแกน ฮอร์ช
คริสตา เฮอมอโทว์
ลอแกน ทอม
ฟอรุค อะคินราเดโว
คอร์ตนีย์ ทอมสัน
ดาสไทนี่ ฮุคเกอร์
  ญี่ปุ่น
ฮิโตมิ นากามิชิ
โยะชิเอะ ทะเคะชิตะ
ไม ยะมะกุชิ
อิริกะ อะระกิ (กัปตันทีม)
คะโอะริ อินโนะเอะ
ไมโกะ คะโนะ
ยุโกะ ซะโนะ
ไอ โอะโทะโมะ
ริซะ ชินนะเบะ
ซะโอะริ ซาโกดะ
ยุกิโกะ เอะบะตะ
ซะโอะริ คิมุระ

รางวัล แก้

อ้างอิง แก้

  1. FIVB (2012-08-11). "Brazil win second consecutive title, USA and Japan complete Olympic podium". London, Great Britain. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-23. สืบค้นเมื่อ 2012-08-12.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้