ราเวนนา[5] (อิตาลี: Ravenna; โรมัญญา: Ravèna) เป็นเมืองที่อยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลี ราเวนนาเคยเป็นเมืองหลักของจักรวรรดิโรมันตะวันตก และอาณาจักรออสโตรกอท (Ostrogoth Kingdom) ในเวลาต่อมา ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของจังหวัดราเวนนา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 652 ตารางกิโลเมตร ราเวนนาเป็นเมืองที่มีเนี้อที่ใหญ่เป็นที่สองของอิตาลีรองจากกรุงโรม

ราเวนนา

โมเสกจักรพรรดิจัสติเนียนและข้าราชสำนักที่มหาวิหารซานวิทาเล ที่ราเวนนา
โมเสกจักรพรรดิจัสติเนียนและข้าราชสำนักที่มหาวิหารซานวิทาเล ที่ราเวนนา
ธงของราเวนนา
ธง
ตราราชการของราเวนนา
ตราอาร์ม
แผนที่แสดงที่ตั้งของราเวนนา
แผนที่
ราเวนนาตั้งอยู่ในประเทศอิตาลี
ราเวนนา
ราเวนนา
ที่ตั้งของราเวนนาในประเทศอิตาลี
พิกัด: 44°24′58″N 12°12′06″E / 44.41611°N 12.20167°E / 44.41611; 12.20167
ประเทศอิตาลี
แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา
จังหวัดราเวนนา (RA)
Frazioni
(subdivisions)
  • Casalborsetti, Lido di Savio, Lido di Classe, Lido di Dante, Lido Adriano, Marina di Ravenna, Punta Marina Terme, Porto Corsini, Porto Fuori, Marina Romea, Ammonite, Camerlona, Mandriole, Savarna, Grattacoppa, Conventello, Torri, Mezzano, Sant'Antonio, San Romualdo, Sant'Alberto, Borgo Montone, Fornace Zarattini, Piangipane, San Marco, San Michele, Santerno, Villanova di Ravenna, Borgo Sisa, Bastia, Borgo Faina, Carraie, Campiano, Casemurate, Caserma, Castiglione di Ravenna, Classe, Coccolia, Ducenta, Durazzano, Filetto, Fosso Ghiaia, Gambellara, Ghibullo, Longana, Madonna dell'Albero, Massa Castello, Mensa Matellica, Osteria, Pilastro, Roncalceci, Ragone, Santo Stefano, San Bartolo, San Zaccaria, Savio, S. Pietro in Trento, San Pietro in Vincoli, San Pietro in Campiano
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีมิเชลเล เด ปาสเก (PD)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด652.89 ตร.กม. (252.08 ตร.ไมล์)
ความสูง4 เมตร (13 ฟุต)
ประชากร
 (1 มกราคม ค.ศ. 2014)[3]
 • ทั้งหมด158,784 คน
 • ความหนาแน่น240 คน/ตร.กม. (630 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมRavennate, Ravennese[4]
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสไปรษณีย์48100
รหัสเขตโทรศัพท์0544
นักบุญองค์อุปถัมภ์นักบุญอโพลินอาริส
วันสมโภชนักบุญJuly 23
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
อนุสรณ์สมัยคริสเตียนยุคแรกแห่งราเวนนา
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ภาพโมเสกของจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 ที่มหาวิหารซานวิทาเล, ราเวนนา
เกณฑ์พิจารณาCultural: i, ii, iii, iv
อ้างอิง788
ขึ้นทะเบียน1996 (สมัยที่ 20th)
พื้นที่1.32 เอเคอร์

สิ่งที่น่าสนใจ

แก้

เมืองราเวนนามีคริสต์ศาสนสถานสมัยคริสเตียนยุคแรกที่ได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก 8 แห่ง

อ้างอิง

แก้
  1. "Superficie di Comuni Province e Regioni italiane al 9 ottobre 2011". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
  2. "Popolazione Residente al 1° Gennaio 2018". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
  3. GeoDemo - Istat.it
  4. Generally speaking, adjectival "Ravenna" and "Ravennate" are more common for most adjectival uses—the Ravenna Cosmography, Ravenna grass, the Ravennate fleet—while "Ravennese" is more common in reference to people. The neologism "Ravennan" is also encountered. The Italian form is ravennate; in Latin, Ravennatus, Ravennatis, and Ravennatensis are all encountered.
  5. CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Ravenna[1]