ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช (CVN-77)

ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช (CVN-77)[a] (อังกฤษ: USS George H.W. Bush) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยพลังงานนิวเคลียร์ลำดับที่ 10 และเป็นเรือลำสุดท้ายในกลุ่มเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ของกองทัพเรือสหรัฐ ได้รับการตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เรือเอก จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 41 และอดีตผู้อำนวยการสำนักข่างกรองกลาง (CIA) ผู้ซึ่งเคยเป็นนักบินของกองทัพเรือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สัญญาณเรียกขานของเรือคือ อเวนเจอร์ (Avenger; ผู้ล้างแค้น) ตามชื่อเครื่องบินทิ้งระเบิด กรัมแมน ทีบีเอฟ อเวนเจอร์ ซึ่งเคยบินโดยบุชเมื่อช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เรือลำนี้เริ่มสร้างในปี 2003 โดยบริษัทนอร์ทธรอป กรัมแมน (Northrop Grumman) ในเมืองนิวพอร์ตนิวส์ รัฐเวอร์จิเนีย และสร้างเสร็จในปี 2009 ด้วยงบประมาณ 6,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันประจำการอยู่ที่ฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก รัฐเวอร์จิเนีย

ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. บุช ในเดือนมกราคม 2011
ประวัติ
สหรัฐอเมริกา
ชื่อ
  • ไทย : ยูเอสเอส จอร์จ เอช.ดับเบิลยู. ยุช
  • อังกฤษ : USS George H.W. Bush
ตั้งชื่อตามเรือเอก จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช
Ordered26 มกราคม 2001
รางวัล26 มกราคม 2001
อู่เรือนิวพอร์ตนิวส์ชิปบิลดิง[1]
มูลค่าสร้างUS$6,200 ล้าน[2]
ปล่อยเรือ6 กันยายน 2003[1]
สนับสนุนโดยโดโรธี บุช คอช[1]
Christened7 ตุลาคม 2006
เดินเรือแรก9 ตุลาคม 2006
เข้าประจำการ10 มกราคม 2009 (15 ปี)[2]
ท่าจอดฐานทัพเรือนอร์ฟอล์ก
รหัสระบุ
คำขวัญ
  • Freedom at Work
  • (เสรีภาพในการทำงาน)
ชื่อเล่นอเวนเจอร์
สถานะอยู่ในประจำการ
สัญลักษณ์
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: นิมิตซ์
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 102,000 ลองตัน (114,000 ชอร์ตตัน)[3][4]
ความยาว:
  • ตลอดลำ: 1,092 ฟุต (332.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 1,040 ฟุต (317.0 เมตร)
ความกว้าง:
  • กว้างสุด: 252 ฟุต (76.8 เมตร)
  • แนวน้ำ: 134 ฟุต (40.8 เมตร)
  • กินน้ำลึก:
  • สูงสุดสำหรับเดินเรือ: 37 ฟุต (11.3 เมตร)
  • ขีดจำกัด: 41 ฟุต (12.5 เมตร)
  • ระบบขับเคลื่อน:
  • 2 × เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ Westinghouse A4W (ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะสูง 93.5%)
  • 4 × กังหันไอน้ำ
  • 4 × เพลาใบจักร
  • กำลัง 260,000 แรงม้า (194 เมกะวัตต์)
  • ความเร็ว: มากกว่า 30 นอต (56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 35 ไมล์ต่อชั่วโมง)
    พิสัยเชื้อเพลิง: ไม่จำกัดระยะทาง 20–25 ปี
    อัตราเต็มที่:
    • ประจำเรือ: 3,532 นาย
    • ฝูงบินประจำเรือ: 2,480 นาย
    ระบบตรวจการและปฏิบัติการ:
  • เรดาร์ค้นหาทางอากาศ 3 มิติ AN/SPS-48E
  • เรดาร์ค้นหาทางอากาศ 2 มิติ AN/SPS-49A(V)5
  • เรดาร์ควบคุมการยิง AN/SPQ-9B
  • เรดาร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ AN/SPN-46
  • เรดาร์ควบคุมการจราจรทางอากาศ AN/SPN-43C
  • เรดาร์ช่วยลงจอด AN/SPN-41
  • 3 × ระบบนำวิถีขีปนาวุธ Mark 91 NSSM
  • 3 × เรดาร์นำวิถีขีปนาวุธ Mark 95
  • สงครามอิเล็กทรอนิกส์และเป้าลวง:
  • ระบบต่อต้านการสงครามอิเล็กทรอนิกส์ AN/SLQ-32A(V)4
  • ระบบต่อต้านตอร์ปิโด SLQ-25A Nixie
  • ยุทโธปกรณ์:
  • 2 × แท่นปล่อย Mark 29 สำหรับอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-162 อีเอสเอสเอ็ม
  • 2 × แท่นปล่อยสำหรับอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศ อาร์ไอเอ็ม-116 Rolling Airframe Missile
  • 3 × Phalanx CIWS[5]
  • เกราะ: เคฟลาร์ หนา 2.5 นิ้ว (64 มม.) ในบริเวณสำคัญ[6]
    อากาศยาน: อากาศยานปีกนิ่งและเฮลิคอปเตอร์ 90 ลำ

    หมายเหตุ

    แก้
    1. กองทัพเรือสหรัฐระบุว่าชื่อเรือไม่มีวรรคระหว่าง "H" และ "W"

    อ้างอิง

    แก้
    1. 1.0 1.1 1.2 "Future USS George H.W. Bush to Transit". Naval Sea Systems Command Public Affairs. 18 December 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2012. สืบค้นเมื่อ 22 December 2008.
    2. 2.0 2.1 "Aircraft Carrier Named the USS George H.W. Bush Commissioned". Fox News. 10 January 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2012. สืบค้นเมื่อ 2 June 2009.
    3. Polmar, Norman (2004). The Naval Institute guide to the ships and aircraft of the U.S. fleet. Naval Institute Press. p. 112. ISBN 978-1-59114-685-8. สืบค้นเมื่อ 26 September 2016. nimitz class displacement
    4. "CVN-68: NIMITZ CLASS" (PDF).
    5. "USS George HW Bush Project". USS George HW Bush (CVN-77) Aircraft Carrier, United States of America. Net Resources International/SPG Media LTD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2012. สืบค้นเมื่อ 25 December 2012.
    6. Fontenoy, Paul E. (2006). Aircraft carriers: an illustrated history of their impact. ABC-CLIO Ltd. p. 349. ISBN 978-1-85109-573-5.

    แหล่งข้อมูลอื่น

    แก้