ภาษาบูร์ยัต
(เปลี่ยนทางจาก ภาษาบูเรียต)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ภาษาบูร์ยัต (буряад хэлэн) เป็นกลุ่มมองโกลิก มีผู้พูดราว 400,000 คน ในสาธารณรัฐบูร์ตาเตียในรัสเซียรวมทั้งในภาคเหนือของมองโกเลียและภาคตะวันตกเฉียงเหนือของจีน เขียนด้วยอักษรซีริลลิกที่กำหนดขึ้นหลังจากการปฏิวัติรัสเซียเมื่อ พ.ศ. 2460 ก่อนหน้านั้นภาษาบูร์ยัตเขียนด้วยอักษรมองโกเลีย ใน พ.ศ. 2474 มีการปรับอักษรละตินมาใช้เขียนภาษาบูร์ยัตและนำอักษรซีริลลิกมาใช้อีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2482
ภาษาบูร์ยัต | |
---|---|
Buriat | |
буряад хэлэн buryaad xelen ᠪᠤᠷᠢᠶᠠᠳ ᠮᠣᠩᠭᠣᠯ ᠬᠡᠯᠡᠨ | |
ประเทศที่มีการพูด | รัสเซียตะวันออก (สาธารณรัฐบูร์ยัต, Ust-Orda Buryatia, Aga Buryatia), มองโกเลียตอนเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน (Hulunbuir, เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน) |
ชาติพันธุ์ | ชาวบูร์ยัต, Barga Mongols |
จำนวนผู้พูด | ไม่ทราบ (265,000 คนในประเทศรัสเซียและมองโกเลีย (สำมะโน ค.ศ. 2010); 65,000 คนในจีน อ้างถึง1982 census)[1] |
ตระกูลภาษา | มองโกล
|
ระบบการเขียน | อักษรซีริลลิก, อักษรมองโกเลีย, Vagindra script, อักษรละติน |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | สาธารณรัฐบูเรียเตีย (รัสเซีย) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | bua |
ISO 639-3 | bua – รหัสรวม Buriat รหัสเอกเทศ: bxu – Inner Mongolian (China) Buriatbxm – Mongolia Buriatbxr – Russia Buriat |
ระบบการเขียน
แก้А а | Б б | В в | Г г | Д д | Е е | Ё ё | Ж ж |
З з | И и | Й й | К к | Л л | М м | Н н | О о |
Ө ө | П п | Р р | С с | Т т | У у | Ү ү | Ф ф |
Х х | Һ h | Ц ц | Ч ч | Ш ш | Щ щ | Ъ ъ | Ы ы |
Ь ь | Э э | Ю ю | Я я |
อ้างอิง
แก้- ↑ ภาษาบูร์ยัต ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
Inner Mongolian (China) Buriat ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
Mongolia Buriat ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
Russia Buriat ที่ Ethnologue (19th ed., 2016)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ในภาษาbxr