ภาคย่างกุ้ง
ย่างกุ้ง[2] หรือ ยานโกน[2] (พม่า: ရန်ကုန်) เป็นภาคหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลักคือย่างกุ้งซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น ตาน-ลยีน (สิเรียม), ตูนเต้ เป็นต้น ภาคนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ ภาคย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์)
ภาคย่างกุ้ง ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး | |
---|---|
การถอดเสียงเป็นอักษรโรมัน | |
• พม่า | rankun tuing: desa. kri: |
ที่ตั้งภาคย่างกุ้งในประเทศพม่า | |
พิกัด: 17°0′N 96°10′E / 17.000°N 96.167°E | |
ประเทศ | พม่า |
ภูมิภาค | พม่าตอนล่าง |
เมืองหลัก | ย่างกุ้ง |
การปกครอง | |
• มุขมนตรี | พโย่มี่นเต้น (เอ็นแอลดี) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 10,276.7 ตร.กม. (3,967.9 ตร.ไมล์) |
ประชากร (พ.ศ. 2557)[1] | |
• ทั้งหมด | 7,360,703 คน |
• ความหนาแน่น | 720 คน/ตร.กม. (1,900 คน/ตร.ไมล์) |
ประชากรศาสตร์ | |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | พม่า, มอญ, กะเหรี่ยง, จีน, อินเดีย, ยะไข่ |
• ศาสนา | พุทธ, คริสต์, ฮินดู, อิสลาม |
เขตเวลา | UTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
รหัส ISO 3166 | MM-06 |
เว็บไซต์ | eyangon |
อาณาเขตติดต่อ
แก้- ทิศเหนือ ติดต่อกับภาคพะโค
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับภาคพะโค
- ทิศใต้ ติดต่อกับอ่าวเมาะตะมะ
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับภาคอิรวดี
การแบ่งเขตการปกครอง
แก้ภาคย่างกุ้งแบ่งออกเป็น 14 จังหวัด ดังนี้
ภูมิภาคย่อย | จังหวัด | อำเภอ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน | อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน | |
ย่างกุ้งเหนือ | อี้นเซน | အင်းစိန် | Insein | อี้นเซน | အင်းစိန် | Insein |
ไลง์ตายาตะวันตก | လှိုင်သာယာအနောက်ပိုင်း | Hlaingtharya Anauk Paing | ||||
ไลง์ตายาตะวันออก | လှိုင်သာယာအရှေ့ပိုင်း | Hlaingtharya Ashay Paing | ||||
มีนกะลาโดน | မင်္ဂလာဒုံ | Mingaladon | มีนกะลาโดน | မင်္ဂလာဒုံ | Mingaladon | |
ชเว-ปยีตา | ရွှေပြည်သာ | Shwepyithar | ||||
มอบี | မှော်ဘီ | Hmawbi | มอบี | မှော်ဘီ | Hmawbi | |
ท่านดะบีน | ထန်းတပင် | Htantabin | ||||
แล่กู้ | လှည်းကူး | Hlegu | แล่กู้ | လှည်းကူး | Hlegu | |
ไตจี้ | တိုက်ကြီး | Taikkyi | ไตจี้ | တိုက်ကြီး | Taikkyi | |
ย่างกุ้งตะวันออก | ทินก้านจู้น | သင်္ဃန်းကျွန်း | Thingangyun | ทินก้านจู้น | သင်္ဃန်းကျွန်း | Thingangyun |
ยานกี้น | ရန်ကင်း | Yankin | ||||
โอะกะลาปะใต้ | တောင်ဥက္ကလာပ | Taung Okkalapa | ||||
ตามเว | တာမွေ | Tamwe | ||||
โบตะทอง | ဗိုလ်တထောင် | Botahtaung | โบตะทอง | ဗိုလ်တထောင် | Botahtaung | |
ตาเกตะ | သာကေတ | Thaketa | ||||
ดอโบน | ဒေါပုံ | Dawbon | ||||
ปะซูนดอง | ပုဇွန်တောင် | Pazundaung | ||||
มีนกะลาตองหญุ่น | မင်္ဂလာတောင်ညွန့် | Mingalartaungnyunt | ||||
ตะเกิงเมืองใหม่ | ဒဂုံမြို့သစ် | Dagon Myothit | ตะเกิงเมืองใหม่ใต้ | ဒဂုံမြို့သစ်တောင်ပိုင်း | Dagon Myothit Taung Paing | |
ตะเกิงเมืองใหม่เหนือ | ဒဂုံမြို့သစ်မြောက်ပိုင်း | Dagon Myothit Myauk Paing | ||||
ตะเกิงเมืองใหม่ตะวันออก | ဒဂုံမြို့သစ်အရှေ့ပိုင်း | Dagon Myothit Ashay Paing | ||||
ตะเกิงเมืองใหม่ท่าเรือ | ဒဂုံမြို့သစ်ဆိပ်ကမ်း | Dagon Myothit Seikkan | ||||
ย่างกุ้งใต้ | ตาน-ลยีน | သန်လျှင် | Thanlyin | ตาน-ลยีน | သန်လျှင် | Thanlyin |
เจาะต้าน | ကျောက်တန်း | Kyauktan | ||||
โต้น-กวะ | သုံးခွ | Thongwa | ||||
คะย่าน | ခရမ်း | Kayan | ||||
โกโก้จู้น | ကိုကိုးကျွန်း | Cocokyun | ||||
ตูนเต้ | တွံတေး | Twantay | ตูนเต้ | တွံတေး | Twantay | |
ก่อมู่ | ကော့မှုး | Kawhmu | ||||
กู้นจานโก้น | ကွမ်းခြံကုန်း | Kungyangon | ||||
ดะละ | ဒလ | Dala | ||||
เซะจี้คะนองโต | ဆိပ်ကြီးခနောင်တို | Seikgyikanaungto | ||||
ย่างกุ้งตะวันตก | เจาะตะด้า | ကျောက်တံတား | Kyauktada | เจาะตะด้า | ကျောက်တံတား | Kyauktada |
ปะแบด้าน | ပန်းပဲတန်း | Pabedan | ||||
ล่านมะดอ | လမ်းမတော် | Lanmadaw | ||||
ละตา | လသာ | Latha | ||||
ตะเกิง | ဒဂုံ | Dagon | ||||
อะโลน | အလုံ | Ahlone | อะโลน | အလုံ | Ahlone | |
จิมยะไนง์ | ကြည့်မြင်တိုင် | Kyeemyindaing | ||||
ซ่านช่อง | စမ်းချောင်း | Sanchaung | ||||
มะย่านโก้น | မရမ်းကုန်း | Mayangone | มะย่านโก้น | မရမ်းကုန်း | Mayangone | |
โอะกะลาปะเหนือ | မြောက်ဥက္ကလာပ | Myauk Okkalapa | ||||
ไลง์ | လှိုင် | Hlaing | ||||
กะมายุ | ကမာရွတ် | Kamaryut | กะมายุ | ကမာရွတ် | Kamaryut | |
บะฮ่าน | ဗဟန်း | Bahan |
อ้างอิง
แก้- ↑ Census Report. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Vol. 2. Naypyitaw: Ministry of Immigration and Population. May 2015. p. 17.
- ↑ 2.0 2.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.