ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (อังกฤษ: UEFA Women's European Championship; ชื่อเดิม: ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิง; European Competition for Women's Football) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิงในวงการฟุตบอล เดิมแข่งกันทั้งหมด 4 ทีม และได้พัฒนามาเป็น 8 ทีม 12 ทีม ตามลำดับ และเพิ่มเป็น 16 ทีมในปี 2017 ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยแชมป์มากที่สุดได้แก่ทีมชาติเยอรมนี
ผู้จัด | ยูฟ่า |
---|---|
ก่อตั้ง | 1982 |
ภูมิภาค | ยุโรป |
จำนวนทีม | 16 (รอบสุดท้าย) 52 (เข้าชิง) |
ผ่านเข้าไปเล่นใน | Women's Finalissima |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | อังกฤษ (สมัยที่ 1) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | เยอรมนี (8 สมัย) |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2025 |
ประวัติ
แก้[1] ในเบอร์ลินตะวันตกเมื่อ ค.ศ 1957 สมาคมฟุตบอลสตรีนานาชาติจัดการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปขึ้น[2][3] โดยมีสี่ทีมที่เข้าเล่น ได้แก่ เยอรมนีตะวันตก เนเธอร์แลนด์ ออสเตรเลีย และอังกฤษที่เป็นผู้ชนะในครั้งนี้ การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่Poststadion[2][3] ในเวลานั้นทีมฟุตบอลหญิงถูกห้ามอย่างเป็นทางการจากสมาคมฟุตบอลเยอรมัน ซึ่งเป็นข้อห้ามที่ถูกท้าทายอย่างกว้างขวาง[4]
วิธีการแข่งขัน
แก้คัดเลือกกันโดยหาแชมป์และรองแชมป์กลุ่มในรอบคัดเลือก (รองแชมป์ที่ดีที่สุดหกทีม) เพลย์ออฟสองทีม แล้วนำผู้ชนะเพลย์ออฟมาแข่งกับทีมอื่นๆ เจ้าภาพหนึ่งทีม
ผลการแข่งขัน
แก้ครั้ง | ปี | เจ้าภาพ | นัดชิง | ชิงที่สาม | จำนวนทีม | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แชมป์ | ผลการแข่งขัน | รองแชมป์ | อันดับสาม | ผล | อันดับสี่ | |||||||
1 | 1984 |
ไม่มีเจ้าภาพ |
สวีเดน |
1–0 0–1 (ดวลลูกโทษ 4–3) |
อังกฤษ |
เดนมาร์ก และ อิตาลี | 4 | |||||
2 | 1987 | นอร์เวย์ | นอร์เวย์ |
2–1 | สวีเดน |
อิตาลี |
2–1 | อังกฤษ |
4 | |||
3 | 1989 | เยอรมนีตะวันตก | เยอรมนีตะวันตก |
4–1 | นอร์เวย์ |
สวีเดน |
2–1 (ต่อเวลา) |
อิตาลี |
4 | |||
4 | 1991 | เดนมาร์ก | เยอรมนี |
3–1 (ต่อเวลา) |
นอร์เวย์ |
เดนมาร์ก |
2–1 (ต่อเวลา) |
อิตาลี |
4 | |||
5 | 1993 | อิตาลี | นอร์เวย์ |
1–0 | อิตาลี |
เดนมาร์ก |
3–1 | เยอรมนี |
4 | |||
6 | 1995 |
ไม่มีเจ้าภาพ |
เยอรมนี |
3–2 | สวีเดน |
อังกฤษ และ นอร์เวย์ | 4 | |||||
7 | 1997 | นอร์เวย์ สวีเดน |
เยอรมนี |
2–0 | อิตาลี |
สเปน และ สวีเดน | 8 | |||||
8 | 2001 | เยอรมนี | เยอรมนี |
1–0 (ต่อเวลา) |
สวีเดน |
เดนมาร์ก และ นอร์เวย์ | 8 | |||||
9 | 2005 | อังกฤษ | เยอรมนี |
3–1 | นอร์เวย์ |
ฟินแลนด์ และ สวีเดน | 8 | |||||
10 | 2009 | ฟินแลนด์ | เยอรมนี |
6–2 | อังกฤษ |
เนเธอร์แลนด์ และ นอร์เวย์ | 12 | |||||
11 | 2013 | สวีเดน | เยอรมนี |
1–0 | นอร์เวย์ |
เดนมาร์ก และ สวีเดน | 12 | |||||
12 | 2017 | เนเธอร์แลนด์ | เนเธอร์แลนด์ |
4–2 | เดนมาร์ก |
ออสเตรีย และ อังกฤษ | 16 | |||||
13 | 2022 | อังกฤษ | อังกฤษ |
2–1 (ต่อเวลา) |
เยอรมนี |
ฝรั่งเศส และ สวีเดน | 16 | |||||
14 | 2025 | สวิตเซอร์แลนด์ | 16 |
ตารางเหรียญรางวัล
แก้ลำดับที่ | ทีมชาติ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | เยอรมนี | 8 | 1 | 0 | 9 |
2 | นอร์เวย์ | 2 | 4 | 3 | 9 |
3 | สวีเดน | 1 | 3 | 5 | 9 |
4 | อังกฤษ | 1 | 2 | 2 | 5 |
5 | เนเธอร์แลนด์ | 1 | 0 | 1 | 2 |
6 | อิตาลี | 0 | 2 | 2 | 4 |
7 | เดนมาร์ก | 0 | 1 | 5 | 6 |
8 | ฝรั่งเศส | 0 | 0 | 1 | 1 |
ฟินแลนด์ | 0 | 0 | 1 | 1 | |
สเปน | 0 | 0 | 1 | 1 | |
ออสเตรีย | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม (11 ทีมชาติ) | 13 | 13 | 22 | 48 |
อ้างอิง
แก้- ↑ Skillen, Fiona; Byrne, Helena; Carrier, John; James, Gary (27 Jan 2022). "A comparative analysis of the 1921 English Football Association ban on women's football in Britain and Ireland". Sport in History. 42 (1): 49–75. doi:10.1080/17460263.2021.2025415. S2CID 246409158.
- ↑ 2.0 2.1 "Damenfußball in der Verbotszeit [Ladies' football in the banned era]". BPB. 4 Sep 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 Feb 2022.
- ↑ 3.0 3.1 "Women's european football championship scene from match germany (GFR) against England in Berlin (West-Berlin) . final result 0:4 05.Nov. 1957". Getty Images.
- ↑ "Frauenfußball-Verbot 1955 [Women's football ban 1955]". Deutschlandfunk. 30 July 2015.