ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 1983
ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 1983 (อังกฤษ: 1983 AFC Women's Championship) ของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตบอลหญิงชิงแชมป์เอเชียครั้งที่ 5 ซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2526 ในประเทศไทย โดยสมาชิกที่เข้าร่วมแข่ง คือ ไทย, อินเดีย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฮ่องกง และฟิลิปปินส์ ผู้ชนะการแข่งขันในครั้งนี้คือทีมชาติไทยที่เข้าชิงชนะเลิศกับทีมชาติอินเดีย
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
ทีม | 6 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 1st) |
รองชนะเลิศ | อินเดีย |
อันดับที่ 3 | มาเลเซีย |
ส่วนทีมชาติญี่ปุ่นและไต้หวันที่ได้รับการคาดหวังว่าจะเข้าแข่งขัน ได้มีการแจ้งถอนตัวให้ทราบไปก่อน[1]
รูปแบบ
แก้แรกเริ่มนั้นมีแปดประเทศที่เต็มใจเข้าร่วมการแข่ง ซึ่งทั้งหมดได้รับการแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มหนึ่งประกอบด้วยสิงคโปร์, มาเลเซีย, ญี่ปุ่น และไต้หวัน ส่วนอีกกลุ่มประกอบด้วยฮ่องกง, อินเดีย, ไทย และฟิลิปปินส์[1]
หลังจากที่ไต้หวันและญี่ปุ่นถอนตัวออกจากการแข่งขัน[ต้องการอ้างอิง] หกทีมที่เหลือได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มเดียวกันและเข้าแข่งขันแบบพบกันหมด[2]
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้ผลการแข่ง
แก้คะแนนรอบแรกไม่สมบูรณ์:
วันแข่งขันที่ 1 | ||
10 เมษายน[3] | ||
ไทย | 8 – 0 | มาเลเซีย |
10 เมษายน[3] | ||
อินเดีย | 5 – 0 | ฟิลิปปินส์ |
10 เมษายน[3] | ||
สิงคโปร์ | 2 – 0 | ฮ่องกง |
วันแข่งขันที่ 2 | ||
11 เมษายน[2] | ||
ไทย | 3 – 0 | สิงคโปร์ |
11 เมษายน[2] | ||
อินเดีย | 1 – 0 | ฮ่องกง |
11 เมษายน[2] | ||
มาเลเซีย | 1 – 0 | ฟิลิปปินส์ |
วันแข่งขันที่ 3 | ||
12 เมษายน[4] | ||
สิงคโปร์ | 5 – 0 | ฟิลิปปินส์ |
12 เมษายน[4] | ||
ไทย | 4 – 0 | ฮ่องกง |
12 เมษายน[4] | ||
อินเดีย | 3 – 0 | มาเลเซีย |
วันแข่งขันที่ 4 | ||
14 เมษายน[5] | ||
สิงคโปร์ | 5 – 1 | มาเลเซีย |
14 เมษายน[5] | ||
ฟิลิปปินส์ | 2 – 0 | ฮ่องกง |
14 เมษายน[5] | ||
ไทย | 2 – 1 | อินเดีย |
วันแข่งขันที่ 5 | ||
15 เมษายน | ||
ไทย | 5 – 0 | ฟิลิปปินส์ |
15 เมษายน | ||
มาเลเซีย ' | 5 – 0 | ' ฮ่องกง |
15 เมษายน | ||
อินเดีย ' | 1 – 0 | 'สิงคโปร์ |
อันดับสู่รอบชิงชนะเลิศ
แก้ทีม | นัด | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ประตู | เสียประตู | ผลต่าง | แต้ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ไทย | 5 | 5 | 0 | 0 | 22 | 1 | +21 | 10 |
อินเดีย | 5 | 4 | 0 | 1 | 11 | 2 | +9 | 8 |
สิงคโปร์ | 5 | 3 | 0 | 2 | 12 | 5 | +7 | 6 |
มาเลเซีย | 5 | 2 | 0 | 3 | 7 | 16 | –9 | 4 |
ฟิลิปปินส์ | 5 | 1 | 0 | 4 | 2 | 16 | –14 | 2 |
ฮ่องกง | 5 | 0 | 0 | 5 | 0 | 14 | –14 | 0 |
รอบแพ้คัดออก
แก้ชิงที่สาม
แก้ชิงชนะเลิศ
แก้ผู้ชนะ
แก้ผู้ชนะ ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 1983 |
---|
ไทย ชนะเลิศสมัยแรก |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Bangkok bound, despite ban risk". The Straits Times. 21 March 1983. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 23 February 2012.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 "Strong Thais". The Strait Times. 13 April 1983. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 23 February 2012.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Singapore are smashing". The Straits Times. 12 April 1983. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 23 February 2012.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Mainun nets two". The Strait Times. 14 April 1983. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 23 February 2012.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Whoppping win for Singapore". The Strait Times. 16 April 1983. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 23 February 2012.
- ↑ 6.0 6.1 "Newspapers - The Straits Times, 18 April 1983, Page 43". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-25. สืบค้นเมื่อ 2012-02-23.