ยุทธการที่ฮ่องกง

ยุทธการที่ฮ่องกง (8–25 ธันวาคม 1941) ยังเป็นที่รู้จักคือ การป้องกันฮ่องกงและการยึดครองฮ่องกง เป็นหนึ่งในครั้งแรกของสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง เช้าในวันเดียวกันกับการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ กองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้าโจมตีคราวน์โคโลนีของบริเตนที่เกาะฮ่องกง การโจมตีในการละเมิดกฎหมายต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่นไม่ได้ประกาศสงครามกับจักรวรรดิอังกฤษ การโจมตีของฝ่ายญี่ปุ่นนั้นก็ต้องพบการต่อต้านจากทหารในฮ่องกงประกอบไปด้วยกองกำลังท้องถิ่นอย่างทหารอังกฤษ, แคนาดา และอินเดีย ภายในสัปดาห์ กองกำลังฝ่ายป้องกันได้ถูกทอดทิ้งจากแผ่นดินใหญ่และน้อยกว่าสองสัปดาห์ต่อมา กองกำลังฝ่ายการป้องกันบนเกราะนั้นไม่สามารถป้องกันได้ อาณานิคมจึงได้ยอมจำนนและถูกยึดครองในที่สุด

ยุทธการที่ฮ่องกง
ส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานบนเกาะฮ่องกง,วันที่ 18-25 ธันวาคม 1941
วันที่8–25 ธันวาคม 1941
สถานที่
ผล ญี่ปุ่นได้รับชัยขนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ญี่ปุ่นยึดครองฮ่องกง
คู่สงคราม

 บริเตนใหญ่

 แคนาดา
 ญี่ปุ่น
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร มาร์ก แอตชิสัน ยัง (เชลย)
บริติชราช คริสโตเฟอร์ มาลต์บี้ (เชลย)
แคนาดา จอห์น เค. ลอว์สัน 
สหราชอาณาจักร เซดริค วาลลิส (เชลย)
จักรวรรดิญี่ปุ่น ทะกะชิ ซาไก
จักรวรรดิญี่ปุ่น Mineichi Koga
จักรวรรดิญี่ปุ่น ทาดามิจิ คูริบายาชิ
กำลัง
13,981 troops
1 destroyer
1 gunboat
29,700 troops
47 planes
1 cruiser
3 destroyers
4 torpedo boats
3 gunboats
ความสูญเสีย
2,113 killed or missing
2,300 wounded
10,000 captured[a]
1 destroyer captured
1 gunboat sunk
675 killed
2,079 wounded[2]
Civilian casualties: 4,000 killed
3,000 severely wounded[b]
แม่แบบ:Campaignbox Pacific 1941

แม่แบบ:Campaignbox Pacific War

แม่แบบ:Campaignbox World War II

หมายเหตุ แก้

  1. Figures taken from Christopher Maltby, the Commander British Forces in Hong Kong[1]
  2. Figures taken from Selwyn Selwyn-Clarke, the Director of Medical Services in Hong Kong.[3]

อ้างอิง แก้

  • Banham, Tony (2005). Not the Slightest Chance: The Defence of Hong Kong, 1941. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 9622097804.
  • Carroll, J. M. A Concise History of Hong Kong. Critical Issues in History. Lanham: Rowman & Littlefield. ISBN 0-74253-421-9.
  • Fung, Chi Ming (2005). Reluctant Heroes: Rickshaw Pullers in Hong Kong and Canton, 1874–1954 (illus. ed.). Hong Kong University Press. ISBN 978-962-209-734-6.
  • Harris, John R. (2005). The Battle for Hong Kong 1941–1945. Hong Kong: Hong Kong University Press. ISBN 978-962-209-779-7.
  • Ishiwari, Heizō (31 May 1956). Army Operations in China, December 1941 – December 1943 (PDF). Japanese Monograph. IV 17807.71-2. Washington, DC: Office of the Chief of Military History, Department of the Army. OCLC 938077822. Retrieved 30 July 2016.
  • Mackenzie, Compton (1951). Eastern Epic: September 1939 – March 1943, Defence. I. London: Chatto & Windus. OCLC 59637091.
  • Nicholson, Brian (2010). Traitor. Bloomington, IN: Trafford. ISBN 978-1-4269-4604-2.
  • Stacey, C. P. (1956) [1955]. Six Year of War: The Army in Canada, Britain and the Pacific (PDF). Official History of the Canadian Army in the Second World War. I (2nd rev. online ed.). Ottawa: By Authority of the Minister of National Defence. OCLC 917731527. Retrieved 12 December 2015.
  • Turner, John Frayn (2010) [2006]. Awards of the George Cross 1940–2009 (online, Pen & Sword, Barnsley ed.). Havertown, PA: Casemate. ISBN 978-1-78340-981-5.
  • Woodburn Kirby, S.; et al. (2004) [1957]. Butler, J. R. M., ed. The War Against Japan: The Loss of Singapore. History of the Second World War United Kingdom Military Series. I (Naval & Military Press ed.). London: HMSO. ISBN 1-84574-060-2.
  1. Banham 2005, p. 317.
  2. Ishiwari 1956, pp. 47–48.
  3. Banham 2005, p. 318.