ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริกส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงเพิ่ม
บรรทัด 1:
{{ชื่อภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:BRICS.svg|thumb|350px|right|แผนที่กลุ่มประเทศ BRICS]]
'''บริคส์''' ({{Lang-en|BRICS}}) เป็นอักษรย่อใช้เรียกกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วอันประกอบด้วย [[ประเทศบราซิล|บราซิล]] ('''B'''razil) [[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] ('''R'''ussia) [[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] ('''I'''ndia) [[ประเทศจีน|จีน]] ('''C'''hina) และ[[แอฟริกาใต้]] ('''S'''outh Africa)
เส้น 8 ⟶ 7:
 
โกลด์แมน แซคส์ ไม่ได้กล่าวว่ากลุ่มบริคส์จะรวมกลุ่มกันจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจหรือสมาคมการค้าอย่างเป็นทางการเหมือน[[สหภาพยุโรป]]<ref>{{cite web |title =Brazil, Russia, India And China (BRIC) |publisher=Investopedia |url=http://www.investopedia.com/terms/b/bric.asp |accessdate=2008-05-11}}</ref> แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อบ่งชี้บางอย่างว่า “ประเทศกลุ่มบริคส์ทั้งสี่ได้พยายามที่จะสร้าง สมาคมหรือพันธมิตรทางการเมือง” และพยายามเปลี่ยน “อำนาจทางเศรษฐกิจที่กำลังเติบโตให้เป็นอำนาจการเมืองทางภูมิภาค” <ref>{{cite news| url=http://www.reuters.com/article/ousiv/idUSL071126420080608?pageNumber=2&virtualBrandChannel=0 | title=BRICs helped by Western finance crisis: Goldman | date=2008-06-08 | work=Reuters}}</ref><ref name=autogenerated1>{{cite news| url=http://business.timesonline.co.uk/tol/business/markets/russia/article3941462.ece | work=The Times | location=London | title=Russia shows its political clout by hosting Bric summit | date=2008-05-16 | accessdate=2010-04-26 | first=Carl | last=Mortished}}</ref> ในวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ผู้นำกลุ่มประเทศบริคส์เข้าร่วมการประชุมสุดยอดครั้งแรกที่[[เยคาเตรินบุร์ก|เมืองเยคาเตรินบุร์ก]] และประกาศเรียกร้องให้ระเบียบโลกใหม่มีหลายขั้วอำนาจ<ref>Halpin, Tony (2009-06-17). "Brazil, Russia, India and China form bloc to challenge US dominance". ''[[The Times]]'', 17 June 2009. Retrieved from http://www.timesonline.co.uk/tol/news/world/us_and_americas/article6514737.ece.</ref> ต่อมา เมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2554 กลุ่มดังกล่าวได้รับเอา[[ประเทศแอฟริกาใต้]]เข้าร่วมกลุ่มด้วย<ref>{{Cite web |url=http://www.businessworld.in/bw/2011_02_19_S_Africa_Joins_BRIC_Now_BRICS.html |title=S. Africa Joins; BRIC Now BRICS, April 13, 2011 |access-date=2011-04-18 |archive-date=2011-02-24 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110224221845/http://www.businessworld.in/bw/2011_02_19_S_Africa_Joins_BRIC_Now_BRICS.html |url-status=dead }}</ref><ref>[http://www.bloomberg.com/news/2011-04-12/brics-gain-global-influence-as-south-africa-joins-russia-s-medvedev-says.html BRICS Gain Global Influence as South Africa Joins, President of Russia Medvedev, April 13, 2011]</ref><ref>[http://online.wsj.com/article/SB10001424052748703841904576256413453368944.html Emerging Bloc Adds South Africa, April 13, 2011]</ref>
 
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
 
== โควิด-19 ==
[[ธนาคารเพื่อการพัฒนาใหม่]] (New Development Bank, NDB) ซึ่งตั้งอยู่ในจีน มีแผนจะมอบเงิน 15,000 ล้านดอลลาร์แก่ประเทศสมาชิกเพื่อช่วยแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจ โดยประเทศสมาชิกต่างหวังว่าจะฟื้นตัวอย่างราบรื่นและดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ในระดับเดียวกับก่อนเกิดการระบาดของ[[โควิด-19]] การประชุมสุดยอดครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2563 ซึ่งเป็นการประชุมทางไกลผ่านวีดิทัศน์จาก[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]] ประเทศรัสเซีย หารือถึงวิธีจัดการกับภาวะการระบาดทั่วของโควิด และประเด็นการปรับปรุงความร่วมมือพหุภาคีโดยการปฏิรูปองค์กร<ref>{{Cite web|title=BRICS To Allocate $15 Billion For Rebuilding Economies Hit By COVID-19|url=https://www.ndtv.com/india-news/coronavirus-brics-to-allocate-15-billion-for-rebuilding-economies-hit-by-covid-19-2220046|access-date=20 October 2020|website=NDTV.com}}</ref> อัตราการรับ[[วัคซีนโควิด-19]] มีความแตกต่างกันภายในกลุ่มบริคส์โดย จีน อินเดีย และแอฟริกาใต้ เต็มใจรับวัคซีนมากที่สุด ขณะที่บราซิลและรัสเซียแสดงความกังวลมากกว่าอีก 3 ประเทศ<ref>{{Cite web|date=20 October 2020|title=What do people in BRICS countries think about a COVID-19 vaccine?|url=https://www.devex.com/news/sponsored/what-do-people-in-brics-countries-think-about-a-covid-19-vaccine-98356|access-date=25 October 2020|website=Devex}}</ref> เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2564 ในระหว่างการประชุมสุดยอดบริคส์ครั้งที่ 13 [[นเรนทระ โมที]] นายกรัฐมนตรีอินเดียเรียกร้องให้มีการสอบสวนอย่างโปร่งใสภายใต้[[องค์การอนามัยโลก]]เกี่ยวกับต้นกำเนิดของโควิด-19 ด้วยความร่วมมืออย่างเต็มที่จาก "ทุกประเทศ" ต่อจากนั้นประธานาธิบดีจีน [[สี จิ้นผิง]] ได้กล่าวเรียกร้องให้ทุกประเทศในกลุ่มต่อต้านกระบวนการ "ทำให้เป็นการเมือง"<ref>{{Cite news|url=https://www.thehindu.com/news/national/india-china-avoided-open-clash-over-origins-of-covid-19-virus/article36479981.ece |title=India, China avoided open clash over COVID-19 origins |author1=Suhasini Haidar |author2=Ananth Krishnan |publisher=The Hindu |date=15 September 2021}}</ref>
 
== ผู้นำประเทศในบริคส์ ==
เส้น 21 ⟶ 26:
* [[องค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้]]
 
== อ้างอิง และ ... ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:บริคส์]]
[[หมวดหมู่:การจำแนกหมวดหมู่ประเทศ|B]]
[[หมวดหมู่:องค์การที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2552]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บริกส์"