ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาถิ่นตากใบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
'''ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ''' หรือ'''ภาษาเจ๊ะเห''' เป็น[[ภาษาไทยถิ่นใต้]]กลุ่มหนึ่ง ที่พูดกันมากตั้งแต่[[อำเภอปานาเระ]] [[อำเภอสายบุรี]]ของ[[จังหวัดปัตตานี]] ลงไปจนถึงชายแดนไทย-มาเลเซียฝั่งตะวันออก โดยเฉพาะ[[อำเภอตากใบ]] [[จังหวัดนราธิวาส]] รวมถึงในเขตอำเภออื่นๆ ของจังหวัดนราธิวาสด้วย นอกจากนี้ ภาษาเจ๊ะเห ยังใช้พูดกันในกลุ่มคน[[มาเลเซียเชื้อสายไทย]]ใน[[รัฐกลันตัน]]ของ[[มาเลเซีย]]ด้วย
 
ถือเป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีเอกลักษณ์พิเศษ มีการใช้คำที่แตกต่างจากภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไปค่อนข้างมาก กล่าวคือสำเนียงพูดเสียงชาวใต้ผสมกับภาษากับ[[ภาษาไทยถิ่นเหนือ]] เช่นถ้าชาวตากใบถามว่ามาทำไม เขาจะพูดว่า ”มาเญิใด๋”เญอใด๋” ปลายประโยคทอดเสียงยาวว่า “มาเญียด้าย” อนึ่งสำเนียงตากใบมีลักษณะสำเนียงคล้ายกับกลุ่มภาษาไทยถิ่นตะวันออก (ภาษาไทยถิ่นจันทบุรี, ภาษาไทยถิ่นระยอง เป็นต้น)
 
== ประวัติ ==