ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ผู้ตรวจสอบ (คุย | ส่วนร่วม)
ลดจำนวนวรรคลง
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 9498418 สร้างโดย ผู้ตรวจสอบ (พูดคุย) เป็นไปตามหลักการเขียนอยู่แล้วครับ
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ=แนวคิดทางฟิสิกส์|สำหรับ= |ดูที่=จักรวาลวิทยา}}
 
'''จักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ''' หรือ '''ฟิสิกส์จักรวาลวิทยา''' ({{lang-en|Physical cosmology}}) คือสาขาวิชาหนึ่งของการศึกษา[[ดาราศาสตร์]] เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ[[โครงสร้างขนาดใหญ่ของจักรวาล]]และ[[พลศาสตร์]]ของเอกภพของเรา ตลอดจนถึงความเกี่ยวข้องกับปัญหาพื้นฐานในแง่การกำเนิดและวิวัฒนาการของ[[เอกภพ]] การศึกษาจักรวาลวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าต่างๆต่าง ๆ และสาเหตุเริ่มต้นของการเคลื่อนที่เหล่านั้น มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ[[โคเปอร์นิคัส]] ที่ว่าวัตถุท้องฟ้าทุกชนิดย่อมอยู่ภายใต้กฎทางฟิสิกส์เดียวกันกับกฎทางฟิสิกส์ที่ใช้บนโลก ส่วน[[กลศาสตร์นิวตัน]]เป็นการนำเสนอทฤษฎีที่จะทำความเข้าใจกับการเคลื่อนที่ ปัจจุบันเรียกกลศาสตร์ทั้งหมดนี้รวมๆรวม ๆ กันว่า [[กลศาสตร์ท้องฟ้า]] (celestial mechanics) สำหรับการศึกษาจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพในยุคปัจจุบันเริ่มขึ้นจากการพัฒนาทฤษฎีใหม่ของ[[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]] รวมถึงข้อมูลการสังเกตการณ์วัตถุที่อยู่ไกลมากๆมาก ๆ ในจักรวาลของเรา
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==