ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เริ่มต้นใหม่
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 9333233 สร้างโดย 124.120.82.214 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''หน่วยเสียง'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', 2553, หน้า 43</ref> ({{lang-en|phoneme}}) เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของ[[ภาษาพูด]] [[สมาคมสัทศาสตร์สากล]]นิยามหน่วยเสียงว่าหมายถึง "ส่วนที่เล็กที่สุดของเสียงที่ใช้เพื่อสร้างความหมายต่าง ๆ เมื่อเปล่งเสียงออกมา"<ref name="IPA">{{Citation
|author=International Phonetic Association
|title=Handbook of the International Phonetic Association: a guide to the use of the international phonetic alphabet
|url=http://www.cambridge.org/uk/catalogue/catalogue.asp?isbn=0521637511
|year=1999
|publisher=Cambridge University Press
|isbn=978-0-521-63751-0
|chapter=Phonetic description and the IPA chart
}}</ref>
 
ในทาง[[ภาษาศาสตร์]]ยังมีทรรศนะแตกต่างกันว่าหน่วยเสียงเป็นอย่างไรแน่ และภาษาจำแนกออกเป็นหน่วยเสียงได้อย่างไร แต่โดยทั่วไปจะเข้าใจอย่างกว้าง ๆ ร่วมกันว่าหน่วยเสียงเป็น[[ภาวะนามธรรม]]ของชุดเสียงพูดที่ถือว่ามีลักษณะเหมือนกันในภาษานั้น ๆ ตัวอย่างเช่นในภาษาอังกฤษ ''k'' ในคำ ''kit'' และ ''skill'' ออกเสียงต่างกัน แต่ผู้พูดภาษาอังกฤษรับรู้ว่าเป็นเสียงเดียวกัน ดังนั้น ''k'' ในคำทั้งสองจึงเป็นสมาชิกของหน่วยเสียงเดียวกันคือ {{IPA|/k/}} กรณีเสียงพูดต่างกันแต่ใช้หน่วยเสียงเดียวกันนี้เรียกว่า[[หน่วยเสียงย่อย]] ดังนั้นจึงถือว่าหน่วยเสียงเป็นตัวแสดงคำต่าง ๆ ออกมา
 
การศึกษาระบบหน่วยเสียงถือเป็นประเด็นศึกษาหลักของ[[สัทวิทยา]]ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของ[[ภาษาศาสตร์]]
 
== อ้างอิง ==