ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาษาปาก
บรรทัด 95:
}}
 
'''กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)''' เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ [[พ.ศ. 2539]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/A/042/1.PDF พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙]</ref> โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชเมื่อออกจากราชการ เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก และเพื่อจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นให้แก่สมาชิก กบข.เป็นการหักเงินเดือนข้าราชการ เพื่อออม และรัฐเอาเงินออมส่วนนั้นไปลงทุนเพื่อให้มีดอกผลงอกเงย โดยบังคับหักเงินเดือนเริ่มต้น 3% และรัฐช่วยออกสมทบให้ 3% ซึ่งถือเป็นสวัสดิการข้าราชการอย่างหนึ่ง (ในส่วนเอกชนเรียกว่ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ provident fund ซึ่งมีแค่บางบริษัท) จากส่วนที่บังคับหัก 3% เราสามารถไปเพิ่มอัตราการหักได้สูงสุด 12% ของเงินเดือนเรา + กับที่รัฐออกให้ 3% ก็เป็นเงินลงทุนสูงสุด 15% (ซึ่งมีคนถาม กบข.ว่าหักมากกว่า 12% ได้ไหม และ กบข.อยู่ระหว่างพิจารณา) เราสามารถเพิ่มอัตราการหักได้ด้วยตัวเองจากแอพ กบข.
 
กบข. สนับสนุนให้มีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังภาครัฐที่ดี จัดสรรงบประมาณรองรับภาระรายจ่ายด้านบำเหน็จบำนาญอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ข้าราชการสมาชิกมีเงินออมเพียงพอสำหรับชีวิตหลังเกษียณ ซึ่งคณะกรรมการและสำนักงาน ได้มุ่งมั่นดำเนินงานให้ได้มาตรฐานสากลอย่างเต็มที่ ทำให้ กบข. ได้รับการยอมรับและได้รับการสนับสนุน