ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแผ่ขยายของการปรับตัว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Just Sayori ย้ายหน้า การแตกแขนงสายวิวัฒนาการ ไปยัง การแผ่ขยายของการปรับตัว: แปลชื่อใหม่ให้ตรงกว่า
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ชีววิทยาวิวัฒนาการ}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
การแผ่ปรับตัว, การแผ่เพื่อปรับตัว, การแผ่ขยายพันธุ์, การแตกแขนงสายวิวัฒนาการ
adaptive radiation
-->
ในชีววิทยาวิวัฒนาการ '''การแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัว''' ({{lang-en |adaptive radiation}}) หรือ '''การแตกแขนงสายวิวัฒนาการ''' เป็นกระบวนการที่[[สิ่งมีชีวิต]]เกิดความหลากหลายอย่างรวดเร็วจาก[[สปีชีส์]]บรรพบุรุษเดียว กลายเป็นรูปแบบต่าง ๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะเมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนไปทำให้เกิดทรัพยากร เกิดอุปสรรค หรือเกิดวิถีการดำรงชีวิตที่เป็นไปได้ใหม่ ๆ<ref>
{{Cite book | last = Larsen | first = Clark S. | title = Our Origins: Discovering Physical Anthropology | edition = 2 | year = 2011 | publisher = Norton | page = A11}}</ref><ref name="Schluter2000">
{{cite book | last = Schluter | first = Dolph | title = The Ecology of Adaptive Radiation | year = 2000 | publisher = Oxford University Press | isbn = 0-19-850523-X | pages = 10-11 | url = https://www.google.com/books?id=Q1wxNmLAL10C&pg=PA10 }}</ref>
บรรทัด 20:
 
== ลักษณะ ==
ลักษณะ 4 อย่างสามารถใช้ระบุการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัว<ref name="Schluter2000" />
# มีบรรพบุรุษเดียวกัน โดยเฉพาะที่มีร่วมกัน "เร็ว ๆ นี้"
# [[ลักษณะสืบสายพันธุ์]] (ฟิโนไทป์) ของนกมี[[สหสัมพันธ์]]กับสิ่งแวดล้อม คือ[[สิ่งแวดล้อม]]สัมพันธ์อย่างสำคัญกับลักษณะทางสัณฐานหรือทางสรีรภาพ ซึ่งใช้แสวงผลประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมเช่นนั้น
บรรทัด 35:
[[ลักษณะสืบสายพันธุ์|ลักษณะ]]เช่นนี้ทำให้สามารถเคี้ยวอาหารได้หลายหลากมากขึ้น
ดังนั้น การวิวัฒนาการเกิดลักษณะเช่นนี้ได้เพิ่มจำนวนวิถีชีวิตเฉพาะนิเวศสำหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นหลายครั้งในกลุ่มต่าง ๆ ช่วง[[มหายุคซีโนโซอิก]] และในทุก ๆ กรณี ก็ปรากฏว่ามีการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวตามมาทันที<ref name=Jernvall1996>{{Cite journal | first1 = J. | last1 = Jernvall | first2 = J. P. | last2 = Hunter | first3 = M. | last3 = Fortelius | title = Molar Tooth Diversity, Disparity, and Ecology in Cenozoic Ungulate Radiations | journal = Science | volume = 274 | issue = 5292 | pages = 1489-1492 | year = 1996 | pmid = 8929401 | doi = 10.1126/science.274.5292.1489 | bibcode = 1996Sci...274.1489J}}</ref>
 
อีกตัวอย่างหนึ่งเป็นนกที่เพิ่มวิธีหากิน
คือการบินได้เพิ่มวิถีวิวัฒนาการที่เป็นไปได้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัว<ref>{{cite book | title = The Origin and Evolution of Birds | first = Alan | last = Feduccia | year = 1999 }}</ref>
ตัวอย่างอื่น ๆ รวมทั้งการตั้งครรภ์พร้อมกับรกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมใน clade<ref name=clade /> "eutheria" และ[[การเปลี่ยนแปลงทางโครงกระดูกของมนุษย์เนื่องจากการเดินด้วยสองเท้า|การเดินด้วยสองเท้าในบรรพบุรุษมนุษย์]]<ref name="Levin-21">{{cite book | url = https://books.google.com/books?doi=SopsLRo1QyUC&pg=PA21 | title = Human evolution : an illustrated introduction | last = Lewin | first = Roger | year = 2005 | isbn = 1-4051-0378-7 | edition = 5th | page = 21}}</ref>
 
บรรทัด 46:
]]
=== นกจาบปีกอ่อนของดาร์วิน ===
ตัวอย่างดังที่เป็นที่รู้จักกันดีของการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวก็คือ นกจาบปีกอ่อนของดาร์วิน
นักชีววิทยาวิวัฒนาการได้พบว่า เขตภูมิภาคที่แบ่งออกจากกันมักเป็นแหล่งกำเนิดสำคัญของการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัว
ความต่าง ๆ ที่พบในเขตที่แบ่งออกจากกัน เช่น หมู่เกาะ เชื่อว่าโปรโหมตให้เกิดความหลากหลายเยี่ยงนี้
นกจาบปีกอ่อนของดาร์วินอยู่ในภูมิภาคที่แบ่งออกของ[[หมู่เกาะกาลาปาโกส]] แล้วเกิดความหลากหลายกลายเป็นสปีชีส์ต่าง ๆ ที่มีอะไรต่าง ๆ กันรวมทั้งระบบนิเวศอันเป็นที่อยู่ เสียงร้อง สัณฐานโดยเฉพาะขนาดและรูปร่างของ[[จะงอยปาก]]
บรรทัด 56:
ซึ่งตั้งปัญหาว่า ทำไมจึงแยกสปีชีส์กันทั้ง ๆ ที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมเดียวกันและมีทรัพยากรเช่นเดียวกัน
มีนักวิชาการที่เสนอว่า การเกิดสปีชีส์ของนกเป็นเหตุการณ์ 2 ภาค ภาคแรกที่เห็นได้ง่ายเป็นการเกิดสปีชีส์ต่างบริเวณ แล้วตามด้วย '''การเกิดสปีชีส์ร่วมบริเวณ''' (sympatric speciation) ที่เห็นไม่ชัดเท่า
เหตุการณ์ที่สองเป็นเรื่องเนื่องกับการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัว<ref name="Petren, K. 2005"/> ให้เข้ากันสถานการณ์เฉพาะเกาะ ๆ
 
ในบรรดาสปีชีส์บนเกาะหนึ่ง สัณฐานที่ต่างกันสำคัญอย่างหนึ่งก็คือขนาดและรูปร่างของจะงอยปาก
การแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวทำให้เกิดวิวัฒนาการมีจะงอยปากต่างกันเพื่อเข้าถึงอาหารและทรัพยากรที่ต่างกัน
นกที่มีจะงอยสั้น ๆ ปรับตัวกิน[[เมล็ด]]ตามพื้นได้ดีกว่า นกที่มีจะงอยบางและแหลมก็กิน[[แมลง]] ส่วนนกที่มีจะงอยยาวหาอาหารภายใน[[กระบองเพชร]]
เพราะการปรับตัวเป็นวิถีชีวิตเฉพาะเช่นนี้ นก 7 ชนิดหรือมากกว่านั้นจึงสามารถอาศัยในสิ่งแวดล้อมเดียวกันโดยไม่ต้องแข่งขันหรืออดอยากจนทำให้ถึงตาย
กล่าวอีกอย่างก็คือ ความแตกต่างของจะงอยปากที่เกิดจากการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวทำให้ความหลากหลายบนเกาะดำรงอยู่ได้
 
{{Multiple image
บรรทัด 84:
[[ไฟล์:DrepadinidaeSchnabel.jpg |thumb | left |รูปร่างของจะงอยปากและลิ้น]]
=== Hawaiian honeycreepers ===
ตัวอย่างอีกอย่างของการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวก็คือสปีชีส์นกเฉพาะท้องถิ่นของหมู่เกาะฮาวาย คือ Hawaiian honeycreepers ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์ย่อย]] Carduelinae
ซึ่งเป็นนกขนาดใหญ่ที่หลากหลาย อันเป็นส่วนของการแตกแขนงสายวิวัฒนาการขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นเมื่อหมู่เกาะได้ตั้งขึ้น
ทั้งภูมิภาคของเกาะและการคัดเลือกโดยธรรมชาติมีอิทธิพลต่อวิวัฒนาการของนก
บรรทัด 94:
 
=== Silversword alliance ===
แม้กรณีที่รู้จักกันดีของการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวจะเกิดในสัตว์ เช่นนกจาบปีกอ่อนของดาร์วินและปลาหมอสี แต่ก็สามารถเกิดในพืชด้วยเช่นกัน
ตัวอย่างดังที่สุดอาจจะเป็นกลุ่มพืชที่เรียกว่า Silversword alliance บนหมู่เกาะฮาวาย
ซึ่งเป็นสปีชีส์พืชต่าง ๆ 28 ชนิด ทั้งเป็นไม้ต้น ไม้พุ่ม และไม้เลื้อย
บรรทัด 105:
กิ่งก่า[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Anolis'' แตกแขนงสายวิวัฒนาการไปในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ มากมายรวมทั้ง[[อเมริกากลาง]]และ[[อเมริกาใต้]]
ตลอดจนเขต West Indies ของ[[แคริบเบียน]] โดยเกิดสปีชีส์มากมายเหมือนกับนกจาบปีกอ่อน ปลาหมอสี และ silversword alliance
มีงานศึกษาเพื่อกำหนดว่า การแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวเกิดขึ้นบนแผ่นดินใหญ่เหมือนกับที่เกิดในหมู่เกาะแคริบเบียนหรือไม่
ซึ่งก็พบว่า ต่างกันมาก และลักษณะสัณฐานที่พัฒนาโดยเป็นส่วนของการเกิดสปีชีส์ทั้งในแผ่นดินใหญ่และในหมู่เกาะ ต่างก็เป็นเลักษณะพิเศษโดยเฉพาะ ๆ<ref>{{cite journal | last1 = Irschick | first1 = Duncan J. | display-authors = 1 | last2 = et al | year = 1997 | title = A comparison of evolutionary radiations in mainland and Caribbean Anolis lizards | journal = Ecology | volume = 78 | issue = 7 | pages = 2191-2203 | doi = 10.2307/2265955}}</ref>
 
 
 
เส้น 113 ⟶ 114:
มีสัตว์ล่ากิ้งก่าบนเกาะมากกว่าบนแผ่นดินใหญ่
ซึ่งไม่ใช่เป็นความแตกต่างเพียงแค่อย่างเดียว
ปัจจัยอื่น ๆ ก็มีบทบาทด้วยว่าจะมีการแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวเป็นอะไร
 
ในหมู่เกาะแคริบเบียน ขนาดการยืนนั่งที่ใหญ่สัมพันธ์กับขาหน้าที่ยาวกว่า มวลกายที่ใหญ่กว่า หางที่ยาวกว่า และขาหลังที่ยาวกว่า
แต่บนแผ่นดินใหญ่ ขนาดการยืนนั่งที่ใหญ่สัมพันธ์กับหางที่สั้นกว่า
ซึ่งแสดงว่า กิ้งก่าเหล่านี้ปรับตัวต่าง ๆ กันให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ขึ้นอยู่กับว่าอยู่บนแผ่นดินใหญ่หรือในหมู่เกาะ
เป็นความแตกต่างที่ยืนยันว่า การแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวโดยมากเกิดขึ้นต่างหาก ๆ บนแผ่นดินใหญ่และในหมู่เกาะ
 
มีสปีชีส์ในหมู่เกาะที่มีลักษณะสัณฐานโดยเฉพาะเพื่อจะรอดชีวิตในแหล่งที่อยู่เล็ก ๆ โดยเฉพาะ (microhabitats)
เส้น 125 ⟶ 126:
ซึ่งช่วยให้รอดชีวิตในแหล่งที่อยู่เช่นนั้นโดยเฉพาะแต่ไม่ช่วยในที่อื่น ๆ
 
การแตกแขนงสายวิวัฒนาการแผ่ขยายของการปรับตัวทำให้สปีชีส์ต่าง ๆ ได้ลักษณะสืบสายพันธุ์ที่จำเป็นเพื่อรอดชีวิตในแหล่งที่อยู่เหล่านั้น และลดระดับการแข่งขันซึ่งทำให้สิ่งมีชีวิตจำนวนมากขึ้นสามารถรอดชีวิตได้ ดังที่พบในตัวอย่างต่าง ๆ ที่กล่าวแล้ว
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==