ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังเคราะห์ด้วยแสง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 9068956 สร้างโดย 184.22.227.244 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
→‎น้ำ: ฟอออ้
บรรทัด 43:
 
== การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง ==
ในปี=== พ.ศ. 2191 ได้มีการตีพิมพ์ผลงานของ[[ยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์]] นักวิทยาศาสตร์ชาว[[เบลเยียม]] ที่ทำการทดลองอย่างหนึ่งที่น่าสนใจและมีความสำคัญมากทาง[[ชีววิทยา]] โดยปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังใบใหญ่ซึ่งบรรจุดินที่ทำให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์แล้วปิดฝาถัง ระหว่างทำการทดลองได้รดน้ำต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุก ๆ วันด้วยน้ำฝนเป็นระยะเวลา 5 ปี ต้นหลิวเจริญเติบโตขึ้นมาก เมื่อนำต้นหลิวที่ไม่มีดินติดอยู่ที่รากไปชั่งน้ำหนัก ปรากฏว่าต้นหลิวหนัก 169 ปอนด์ 3 ออนซ์ และเมื่อนำดินในถังไปทำให้แห้งแล้วนำไปชั่ง พบว่ามีน้ำหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทำการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น<ref>ปรารถนา จันทร์ทา. 2558. '''ชีววิทยา ม.5'''. กรุงเทพฯ.</ref> ===
=== ยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์ ===
ในปี พ.ศ. 2191 ได้มีการตีพิมพ์ผลงานของ[[ยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์]] นักวิทยาศาสตร์ชาว[[เบลเยียม]] ที่ทำการทดลองอย่างหนึ่งที่น่าสนใจและมีความสำคัญมากทาง[[ชีววิทยา]] โดยปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังใบใหญ่ซึ่งบรรจุดินที่ทำให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์แล้วปิดฝาถัง ระหว่างทำการทดลองได้รดน้ำต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุก ๆ วันด้วยน้ำฝนเป็นระยะเวลา 5 ปี ต้นหลิวเจริญเติบโตขึ้นมาก เมื่อนำต้นหลิวที่ไม่มีดินติดอยู่ที่รากไปชั่งน้ำหนัก ปรากฏว่าต้นหลิวหนัก 169 ปอนด์ 3 ออนซ์ และเมื่อนำดินในถังไปทำให้แห้งแล้วนำไปชั่ง พบว่ามีน้ำหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทำการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น<ref>ปรารถนา จันทร์ทา. 2558. '''ชีววิทยา ม.5'''. กรุงเทพฯ.</ref>
 
ฟัน แฮ็ลโมนต์ได้สรุปผลการทดลองว่า น้ำหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นมาจาก[[น้ำ]]เพียงอย่างเดียว โดยที่เขาไม่ได้นึกถึง[[ก๊าซ]]ใน[[อากาศ]]หรือ[[ดิน]] ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องด้วย ความจริงแล้วน้ำหนักของดินที่หายไปนั้นก็เป็นส่วนที่พืชนำไปใช้ในการดำรงชีวิต และจำเป็นต่อการเจริญเติบโต อีกทั้งยังมีส่วนให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นอีกด้วย