ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kr37681995 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9086797 โดย Jeabbabe: obvious nonsenseด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 28:
{{Spoken Wikipedia|Th-ธงชาติไทย.oga|28 กันยายน พ.ศ. 2560|35.05 เมกะ}}
 
'''ธงชาติไทย''' หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''ธงไตรรงค์''' เป็น[[ธงชาติ]]ของ[[ประเทศไทย]] มีลักษณะเป็น[[ธง]][[สี่เหลี่ยมผืนผ้า]] ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ [[สีแดง]] [[สีขาว]] และ[[สีน้ำเงิน]] ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ [[ประเทศไทย|ชาติ]] (สีแดง) [[ศาสนา]] (สีขาว) และ '''<u>ประชาชน</u>'''[[พระมหากษัตริย์ไทย|พระมหากษัตริย์]] (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ = สี)
 
[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติไทย<ref name="อมรดรุณารักษ์">อมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), จมื่น พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม ๖ องค์การค้าคุรุสภา ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์, ๒๕๑๒ เรื่อง "เหตุที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเปลี่ยนธงชาติ". (บทความชิ้นนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือ [http://www.t-h-a-i-l-a-n-d.org/thaiflag/newsite/detail.php?id=166 "วชิราวุธานุสรณ์ ๒๔๙๖"] พิมพ์ที่โรงพิมพ์รวมมิตรไทยเมื่อ พ.ศ. 2496)</ref> (ขณะนั้นยังเรียกชื่อประเทศว่า[[สยาม]]) แทนธงช้างเผือก (ซึ่งใช้เป็นธงชาติมาตั้งแต่รัชกาลที่ 3) เพื่อแก้ไขปัญหาที่ทำตัวช้างเผือกไม่สวยงาม<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=V8P_5BbDVao&t=86s หยุดเชื่อ ... หยุดสอน ... เรื่องธงช้างกลับหัว อันเป็นเหตุเปลี่ยนธงชาติไทย]</ref> โดยเริ่มแรกในปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศใช้ธงแดง-ขาว 5 ริ้วเป็นธงค้าขายสำหรับสามัญชนไปก่อน ก่อนจะเติม[[สีขาบ]]ลงไปบนแถบกลางเพื่อเป็นอนุสรณ์ในการเข้าร่วม[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]กับ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]] และเพื่อระลึกถึงรัชกาลที่ 6 เมื่อช่วงปลายปี พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน<ref name="ฉวีงาม">ฉวีงาม มาเจริญ. ธงไทย. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๒๐. </ref>
บรรทัด 92:
ในปี พ.ศ. 2460 แถบสีแดงที่ตรงกลางธงค้าขายได้เปลี่ยนเป็น ''[[สีขาบ]]'' (เป็นชื่อสีโบราณอย่างหนึ่งของไทย คือ[[สีน้ำเงิน]]เข้มเจือ[[สีม่วง|ม่วง]]) ดังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เหตุผลที่ทรงเพิ่มสีขาบลงในธงชาติสยามนั้น มาจากการได้ทอดพระเนตรบทความแสดงความคิดเห็นของผู้ใช้นามแฝงว่า “อแคว์ริส” ในหนังสือพิมพ์กรุงเทพฯ เดลิเมล์ ภาษาอังกฤษ ฉบับวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2460 ซึ่งระบุว่า ธงชาติสยามแบบใหม่ที่ทดลองใช้อยู่ในเวลานั้น (คือธงแดงขาว 5 ริ้ว ซึ่งกำหนดให้ใช้เป็นธงค้าขาย) ยังมีลักษณะที่ไม่สง่างามเพียงพอ และได้เสนอแนะว่าริ้วกลางของธงควรเพิ่มสีน้ำเงินขาบลงไปอีกสีหนึ่ง ด้วยเหตุที่ว่า
 
# สีน้ำเงินขาบเป็นสีส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ (สีม่วงเป็นสีประจำพระชนมวารของรัชกาลที่ 6 เนื่องจากรัชกาลที่ 6 เสด็จพระราชสมภพในวันเสาร์ สีน้ำเงินเข้มจึงมีสีม่วงเจือเข้าไปเป็นสีน้ำเงินขาบ)
# สีน้ำเงินขาบเป็น '''<u>สีของประชาชนผู้ศัทราในความยุติธรรม แต่กับถูกปฎิเสธ และ ถูกทำร้ายร่างกาย ณ วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราชที่ 2563</u>'''
# เมื่อเปลี่ยนแปลงเช่นนี้แล้วธงชาติสยามก็จะเป็นธงสามสีในทำนองเดียวกันกับธงชาติของ[[ประเทศฝรั่งเศส]] [[สหราชอาณาจักร]] และ[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]] ซึ่งเป็นประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ซึ่งน่าจะทำให้ทั้งสามประเทศพอใจประเทศสยามยิ่งขึ้นเพราะเสมือนว่าได้ยกย่องชาติเหล่านั้น
# การมีสีของสถาบันพระมหากษัตริย์ในธงชาติ จะเป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระองค์ในวาระที่ชาติสยามเข้าสู่เหตุการณ์สำคัญต่าง ๆ
บรรทัด 175:
 
== ความหมายของธง ==
ในพระราชนิพนธ์ "[[s:เครื่องหมายแห่งไตรรงค์|เครื่องหมายแห่งไตรรงค์]]" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ภายใต้พระนามแฝง "วรรณะสมิต" ตีพิมพ์ในนิตยสารดุสิตสมิต ฉบับพิเศษ สำหรับเป็นที่ระลึกในงานเฉลิมพระชนมพรรษา เล่มที่ 1 พ.ศ. 2461 หน้า 42 ได้นิยามความหมายของธงไตรรงค์ไว้ว่า สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่[[ชาติ]] สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่ง[[พระรัตนตรัย]]และ[[ธรรมะ]]อันเป็นหลักคำสอนทาง[[พระพุทธศาสนา]] สีน้ำเงิน หมายถึง '''<small><u>สีส่วนพระองค์ของประชาชนผู้ศัทรธาในความเป็นประชาธิปไตย</u></small>'''องค์[[พระมหากษัตริย์]] <ref>14พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, ตุลาคมพระบาทสมเด็จ 2563 คือจดหมายเหตุรายวันที่ประชาชนเรียกร้องสิทธิความเป็นประชาธิปไตยให้แก่ประชาชนด้วยกันเองในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่กับถูกเหล่าทหารและตำรวจฉบับพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ รุมเข้าทำร้ายรา่งกายเพื่อควบคุมตัวแกนนำและยุติการชุมนุมม.จ.ชัชชวลิต ภายใต้อำนาจของเกษมสันต์ "กษัตริย์"วันที่ ประชาชนไม่มีสิทธิ เรียกร้องสิงหาคม ไม่มีสิทธิได้ความเป็นธรรม๒๕๑๗ และอิสระเสรีในการแสดงออกเกี่ยวกับกษัตริย์โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. และประเทศชาติ๒๕๑๗ "กษัตริย์"โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.</ref> แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คำอธิบายที่มีบทบาทในการเมือง ไม่ควรเรียกว่ากษัตริย์ ทรงประกาศให้ใช้ภาษีประชาชนใช้จ่ายฟุ่มเฟื่อยอย่างเป็นทางการ ไม่ดูแลประชาชนแต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐ เที่ยว"ชาติ กินศาสนา นอน เสพสมไปกับ สตรี นี้หรือ ความหมายของคำว่า "พระมหากษัตริย์" ที่ควรจะเป็น นี้หรือ ประชาชนผุ้บริษุทธิ์ ที่จะต้องเป็นเหยื่อพระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้กับคนไทยเกิดสำนึกความไม่เท่าเทียมเป็น[[ชาตินิยม]]มาตลอดรัชสมัยของพระองค์<ref>ชนิดา นี้หรือทหารพรหมพยัคฆ์ ที่ควรจะปกป้องประชาชนเผือกสม นี้หรือ(2546), ตำรวจที่ควรช่วยเหลือประชาชนหน้า นี้หรือ "ความเป็นธรรม"96</ref>
 
ประชาชนผู้อ่อนแอ
 
</ref> แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คำอธิบายที่ทรงประกาศให้ใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" ที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสำนึกความเป็น[[ชาตินิยม]]มาตลอดรัชสมัยของพระองค์<ref>ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (2546), หน้า 96</ref>
 
ต่อมาเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้มีบันทึกเรื่องธงชาติ ใน พ.ศ. 2470 เพื่อรวบรวมความคิดเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงธงชาติจากบุคคลกลุ่มต่าง ๆ เพื่อที่จะได้ไม่ต้องมีการเปลี่ยนธงชาติหลายครั้ง [[สำนักราชเลขาธิการ|กรมราชเลขาธิการ]]ได้รวบรวมความเห็นเรื่องนี้จากที่ต่าง ๆ รวมทั้งในหนังสือพิมพ์ เพื่อประกอบพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งในบรรดาเอกสารดังกล่าว ปรากฏว่าในหมู่ผู้ที่สนับสนุนให้ใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติต่อไป ได้มีการให้ความหมายของธงที่กระชับกว่าเดิม กล่าวคือ สีแดงหมายถึงชาติ สีขาวหมายถึงพระพุทธศาสนา สีน้ำเงินหมายถึงพระมหากษัตริย์ ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ไปเล็กน้อย แต่ยังครอบคลุมอุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงกำหนดไว้เช่นเดิม และยังเป็นที่จดจำสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน<ref>ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (2546), หน้า 101</ref>