ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2405:9800:BC13:3CA:54C1:C081:7C75:79D6 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Lerdsuwa
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ความหมายของธง: ไม่จำเป็นต้องคัดต้นฉบับ
บรรทัด 173:
 
== ความหมายของธง ==
ในพระราชนิพนธ์ "[[s:เครื่องหมายแห่งไตรรงค์|เครื่องหมายแห่งไตรรงค์]]" ซึ่ง[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระราชนิพนธ์ภายใต้พระนามแฝง "วรรณะสมิต" ตีพิมพ์ในนิตยสารดุสิตสมิต ฉบับพิเศษ สำหรับเป็นที่ระลึกในงานเฉลิมพระชนมพรรษา เล่มที่ 1 พ.ศ. 2461 หน้า 42 ได้นิยามความหมายของธงไตรรงค์ไว้ว่า สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่[[ชาติ]] สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่ง[[พระรัตนตรัย]]และ[[ธรรมะ]]อันเป็นหลักคำสอนทาง[[พระพุทธศาสนา]] สีน้ำเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์[[พระมหากษัตริย์]] <ref>พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จ จดหมายเหตุรายวันในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.จ.ชัชชวลิต เกษมสันต์ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๑๗ โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๑๗ โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.</ref> แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คำอธิบายที่ทรงประกาศให้ใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" ที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสำนึกความเป็น[[ชาตินิยม]]มาตลอดรัชสมัยของพระองค์<ref>ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (2546), หน้า 96</ref>
{{คำพูด|
:ขอร่ำรำพันบรรยาย ความคิดเครื่องหมาย<br>
แห่งสีทั้งสามงามถนัด
:ขาวคือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ์ หมายพระไตรรัตน์<br>
และพระธรรมคุ้มจิตไทย
:แดงคือโลหิตเราไซร้ ซึ่งยอมสละได้<br>
เพื่อรักษาชาติศาสนา
:น้ำเงินคือสีโสภา อันจอมประชา<br>
ธ โปรดเป็นของส่วนองค์
:จัดริ้วเข้าเป็นไตรรงค์ จึงเป็นสีธง<br>
ที่รักแห่งเราชาวไทย
:ทหารอวตารนำไป ยงยุทธ์วิชัย<br>
วิชิตก็ชูเกียรติสยาม ฯ|วรรณะสมิต (พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)}}
 
สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่[[ชาติ]] สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่ง[[พระรัตนตรัย]]และ[[ธรรมะ]]อันเป็นหลักคำสอนทาง[[พระพุทธศาสนา]] สีน้ำเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์[[พระมหากษัตริย์]] <ref>พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จ จดหมายเหตุรายวันในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับพิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ม.จ.ชัชชวลิต เกษมสันต์ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๑๗ โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๑๗ โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.</ref> แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คำอธิบายที่ทรงประกาศให้ใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐ "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" ที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสำนึกความเป็น[[ชาตินิยม]]มาตลอดรัชสมัยของพระองค์<ref>ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (2546), หน้า 96</ref>
 
ต่อมาเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้มีบันทึกเรื่องธงชาติ ใน พ.ศ. 2470 เพื่อรวบรวมความคิดเห็นในเรื่องการเปลี่ยนแปลงธงชาติจากบุคคลกลุ่มต่าง ๆ เพื่อที่จะได้ไม่ต้องมีการเปลี่ยนธงชาติหลายครั้ง [[สำนักราชเลขาธิการ|กรมราชเลขาธิการ]]ได้รวบรวมความเห็นเรื่องนี้จากที่ต่าง ๆ รวมทั้งในหนังสือพิมพ์ เพื่อประกอบพระบรมราชวินิจฉัย ซึ่งในบรรดาเอกสารดังกล่าว ปรากฏว่าในหมู่ผู้ที่สนับสนุนให้ใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติต่อไป ได้มีการให้ความหมายของธงที่กระชับกว่าเดิม กล่าวคือ สีแดงหมายถึงชาติ สีขาวหมายถึงพระพุทธศาสนา สีน้ำเงินหมายถึงพระมหากษัตริย์ ซึ่งคลาดเคลื่อนไปจากพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ไปเล็กน้อย แต่ยังครอบคลุมอุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงกำหนดไว้เช่นเดิม และยังเป็นที่จดจำสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน<ref>ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (2546), หน้า 101</ref>