ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 27:
 
== ประวัติการก่อสร้าง ==
การก่อสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา มีประวัติอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่มีการเสนอให้มีการสร้าง[[อนุสาวรีย์]]สำหรับผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ 14-16 ตุลาคม 2516 ผ่านคณะรัฐมนตรีของรัฐบาล[[สัญญา ธรรมศักดิ์|นายสัญญา ธรรมศักดิ์]]เมื่อ พ.ศ. 2517 แต่กว่าที่อนุสรณ์สถาน 14ประสบอุปสรรคนานัปการ วีรชนเดือนตุลาจะปรากฏเป็นรูปธรรมดังที่กลุ่มการเมืองแทบทุกฝ่ายยกเว้นกองทัพเห็น หนทางก็เต็มไปงามด้วยอุปสรรคนานัปการทีแรกกลับถูกตีความใหม่หลัง[[เหตุการณ์ จนกระทั่งถึง6 ตุลา]] (พ.ศ. 25442519) อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างว่าเป็นผู้ก่อความวุ่นวาย เป็นเหตุให้ไม่ได้สร้างอนุสาวรีย์ทั้งที่วางศิลาฤกษ์แล้วเสร็จในเดือนตุลาคม ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา2518<ref อดีตname="Thongchai-2002" />{{RP|266}} เริ่มมีความพยายามสร้างอนุสาวรีย์แก่วีรชนเดือนตุลา และนักศึกษา 6 ตุลาในสมัยปี 2532 แต่ล่าช้ามาเรื่อย ๆ จนสุดท้ายในปี 2541 มีการตั้งอนุสาวรีย์อุทิศให้แก่วีรชน 14 ตุลา นักวิชาการ2516 สื่อมวลชนซึ่งธงชัยแย้งว่าที่ตั้งได้ส่วนหนึ่งเพราะกันนักศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน6 และประชาชนผู้รักประชาธิปไตยตุลาไปแล้ว
 
ในปี 2532 รัฐบาลชาติชาย (ซึ่งตัวเขาเองสนับสนุนการเดินขบวนของฝ่ายขวาในเหตุการณ์ 6 ตุลา) ตกลงจะสร้างอนุสาวรีย์ แต่ก็ไม่ได้สร้าง ในปี 2538 แผนการสร้างอนุสาวรีย์ได้เริ่มขึ้นแล้วที่สวนสันติพร แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้สร้างถนนเลี่ยงเมืองในบริเวณนั้น ทำให้แผนต้องถูกยกเลิกไปอีก จนในปี 2541 [[ธีรยุทธ บุญมี]]อาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวกับ[[อานันท์ ปันยารชุน]]เจรจาทำสัญญาส่วนตัวกับผู้อำนวยการ[[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] จนสุดท้ายมีการสร้าง[[อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา|อนุสาวรีย์]]จนได้ แต่อุทิศให้แก่วีรชน 14 ตุลา 2516 เท่านั้น<ref name=Thongchai-2002>Thongchai Winichakul (2002). "[https://www.academia.edu/9881279/2002_Remembering_Silencing_the_Traumatic_Past_the_Ambivalent_Memories_of_the_October_1976_Massacre_in_Bangkok_ Remembering/ Silencing the Traumatic Past]". In Shigeharu Tanabe and Charles F. Keyes eds., ''Cultural Crisis and Social Memory: Modernity and Identity in Thailand and Laos''. Honolulu: University of Hawaii Press.</ref>{{RP|268–9}}
 
จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2544 อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างได้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา อดีตนักศึกษาในสมัย 14 ตุลา นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนผู้รักประชาธิปไตย
 
งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้มาจากเงินบริจาคของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และในโอกาสครบรอบ 28 ปี 14 ตุลา รวมกับเงินบริจาคของ[[สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[ทบวงมหาวิทยาลัย]] โดยมี[[มูลนิธิ 14 ตุลา]] เป็นผู้รับผิดชอบ