ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแพทย์นาโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
'''การแพทย์นาโน''' ({{lang-en|nanomedicine}}) หมายถึง การนำ[[นาโนเทคโนโลยี]]มาใช้ทางการแพทย์<ref name=Nanomed1>{{cite book |last1=Freitas |first1=Robert A. |name-list-format=vanc |title=Nanomedicine: Basic Capabilities |volume=1 |date=1999 |publisher=Landes Bioscience |location=Austin, TX |isbn=978-1-57059-645-2 |url=http://www.nanomedicine.com/NMI.htm |access-date=24 April 2007 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150814144946/http://www.nanomedicine.com/NMI.htm |archive-date=14 August 2015 |url-status=dead }}</ref> ครอบคลุมตั้งแต่การใช้วัสดุนาโนและอุปกรณ์ชีวภาพ ไปจนถึงเครื่องรับรู้ชีวภาพนาโนอิเล็กโทรนิกส์อิเล็กทรอนิกส์ และการใช้เทคโนโลยีนาโนระดับโมเลกุลที่เป็นไปได้ในอนาคต เช่น เครื่องจักรชีวภาพ ปัญหาปัจจุบันเกี่ยวกับการแพทย์นาโนเกี่ยวข้องกับความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของวัสดุระดับนาโน<ref>{{Cite journal|last=Cassano|first=Domenico|last2=Pocoví-Martínez|first2=Salvador|last3=Voliani|first3=Valerio|date=2018-01-17|title=Ultrasmall-in-Nano Approach: Enabling the Translation of Metal Nanomaterials to Clinics|url=https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acs.bioconjchem.7b00664|journal=Bioconjugate Chemistry|language=en|volume=29|issue=1|pages=4–16|doi=10.1021/acs.bioconjchem.7b00664|issn=1043-1802|pmid=29186662}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Cassano|first=Domenico|last2=Mapanao|first2=Ana-Katrina|last3=Summa|first3=Maria|last4=Vlamidis|first4=Ylea|last5=Giannone|first5=Giulia|last6=Santi|first6=Melissa|last7=Guzzolino|first7=Elena|last8=Pitto|first8=Letizia|last9=Poliseno|first9=Laura|last10=Bertorelli|first10=Rosalia|last11=Voliani|first11=Valerio|date=2019-10-21|title=Biosafety and Biokinetics of Noble Metals: The Impact of Their Chemical Nature|url=https://pubs.acs.org/doi/10.1021/acsabm.9b00630|journal=ACS Applied Bio Materials|language=en|volume=2|issue=10|pages=4464–4470|doi=10.1021/acsabm.9b00630|issn=2576-6422}}</ref>
 
สามารถเพิ่มการทำหน้าที่ของวัสดุนาโนโดยการต่อประสานมันด้วยโมเลกุลหรือโครงสร้างชีวภาพ ขนาดของวัสดุนาโนคล้ายกับโมเลกุลและโครงสร้างชีวภาพส่วนใหญ่ ฉะนั้นวัสดุนาโนจึงมีประโยชน์ทั้งในการวิจัยและการนำไปใช้ทางชีวการแพทย์ทั้งในกาย (in vivo) และนอกกาย (in vitro) จนถึงปัจจุบัน การผสมผสานวัสดุนาโนในทางชีววิทยานำไปสู่การพัฒนาอุปกรณ์วินิจฉัย สารทึบรังสี เครื่องมือวิเคราะห์ การใช้ทาง[[กายภาพบำบัด]] และพาหนะส่งยา