ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำเพ็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
และต่อเนื่องไปถึง[[สะพานหัน]], [[พาหุรัด]]และ[[วังบูรพา]] ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ [[เขตพระนคร]] ทั้งนี้สำเพ็งในปัจจุบัน รู้จักกันดีในชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''ซอยวานิช 1''' และในช่วงระหว่างสะพานหันถึง[[ถนนจักรวรรดิ]]เรียกว่า '''ตรอกหัวเม็ด''' <ref name=สาม>{{cite web|url=http://topicstock.pantip.com/food/topicstock/2009/03/D7656996/D7656996.html|title="เที่ยวไปกินไป @ สะพานหัน"|author= laser|date=2009-03-23|accessdate=2018-01-21|work=[[พันทิปดอตคอม]]}}</ref>
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
สำเพ็งเริ่มต้นจากที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้าง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]ขึ้นที่ฝั่งขวาของ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่[[กรุงธนบุรี]] ในปี พ.ศ 2325 โดยมี[[พระบรมมหาราชวัง]]ตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง<ref name=สามเพ็ง/>
 
ที่มาของชื่อ "สำเพ็ง" นั้นไม่มีใครทราบว่ามีความหมายว่ากระไร หรือมาจากคำว่าอะไร ได้มีผู้สันนิษฐานไปต่าง ๆ นานา บ้างก็ว่ามาจากคำว่า "[[ทางแยก|สามแพร่ง]]" หรือมา[[ภาษาแต้จิ๋ว|คำจีนแต้จิ๋ว]]ว่า "สามเผง" ([[อักษรจีน]]: 三聘; ''[[จีนกลาง]]ออกเสียง ซั้นผิ่ง'') แปลตรงตัวได้ว่า "ศานติทั้งสาม" ซึ่งก็ไม่มีใครทราบความหมายหรือคำแปลที่แท้จริง หรือบ้างก็ว่ามาจากคำว่า "สามปลื้ม" ก็มี
 
ในทัศนะของ[[สุจิตต์ วงษ์เทศ]] นักประวัติศาสตร์อิสระเชื่อว่าคำว่า "สำเพ็ง" เป็น[[ภาษามอญ]]ที่แปลว่า "เจ้าขุนมูลนาย" จึงเป็นไปได้ว่าที่นี่เป็นแหล่งอยู่อาศัยของ[[ชาวมอญ]]มาก่อน ที่ชาวจีนจะย้ายเข้ามาอยู่<ref>{{cite web|work=[[มติชน]]|date=2020-01-14|accessdate=2020-02-05|url=https://www.matichon.co.th/entertainment/arts-culture/news_1888732|title=‘ขรรค์ชัย-สุจิตต์’ ทอดน่อง ‘ล้ง 1919’ เปิดตำนานชุมชนจีน ‘กฤช’ พากินพระรามลงสรง (คลิป)}}</ref> ส่วนจิตร ภูมิศักดิ์เห็นว่าเป็นมาจากภาษาเขมร แปลว่า หญิงโสเภณี<ref>จิตร ภูมิศักดิ์. (2550). ''[[:s:โฉมหน้าศักดินาไทย|โฉมหน้าศักดินาไทย]]'', กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, พิมพ์ครั้งที่ 9, ISBN 9789748075242. หน้า 240.</ref>
 
== ประวัติ ==
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของ[[มิชชันนารี]]ที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี พ.ศ. 2378 ระบุความไว้ตอนหนึ่งว่า
สำเพ็งเริ่มต้นจากที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] องค์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงสถาปนาสร้าง[[กรุงรัตนโกสินทร์]]ขึ้นที่ฝั่งขวาของ[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ให้เป็นราชธานีแห่งใหม่แทนที่[[กรุงธนบุรี]] ในปี พ.ศ 2325 โดยมี[[พระบรมมหาราชวัง]]ตั้งขึ้นในพื้นที่ ๆ แต่เดิมเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีน และโปรดให้ย้ายชุมชนชาวจีนออกไปตั้งถิ่นฐานใหม่นอกประตูพระนครทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ขนานไปกับลำน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองสามเพ็ง หรือสำเพ็ง<ref name=สามเพ็ง/>
 
{{คำพูด|ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] กิจการค้าของชาวจีนที่ได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในย่านสำเพ็งเติบโตขึ้นเป็นลำดับ ชาวตะวันตกที่เข้ามาติดต่อการค้ากับสยามประเทศ เรียกขานย่านสำเพ็งว่า "ตลาดจีน" หรือ "Chinese Bazaar" ในบันทึกของ[[มิชชันนารี]]ที่ได้เข้ามาเยี่ยมดูย่านสำเพ็งในปี พ.ศ. 2378 ระบุความไว้ตอนหนึ่งว่า "ตลาดทั้งหมดดูแล้วน่าจะเรียกว่า "เมืองการค้า" (trading town) มากกว่า ที่นี่มีร้านค้ามากมายหลากหลาย ตั้งอยู่บนสองฝั่งฟากถนนยาวราว 2 ไมล์ แต่ด้วยเหตุที่ร้านค้าต่าง ๆ ตั้งอยู่ปะปนกัน เดินเพียงไม่กี่หลาก็สามารถหาซื้อสินค้าประเภทต่าง ๆ ได้ครบตามที่ต้องการ}}"<ref name=สามเพ็ง>{{cite web|url=http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=814|work=นิตยสารผู้จัดการ|title=ลัดเลาะเยาวราช ศึกษาตำนานการค้าที่ทรงวาดกับปูนซิเมนต์ไทย |first=สมศักดิ์|last=ดำรงสุนทรชัย|date=January 2001}}</ref>
 
และในสมัยนั้น สำเพ็งเต็มไปด้วยร้านค้าตลอดจนซ่องโสเภณีและโรงฝิ่นที่ปลูกติดกันจนแน่นขนัด หลังคาของแต่ละหลังเกยซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดเพลิงไหม้บ่อย ๆ จนมีคำเปรียบเปรยว่าที่นี่ ''"ไก่บินไม่ตกพื้น"''<ref>{{cite web|url=https://library.stou.ac.th/odi/canal-in-past/page_2_8.html|title=ไก่บินไม่ตกพื้น...ที่สำเพ็ง|work=สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช}}</ref> [[สุนทรภู่]]รจนาว่า "ถึงสำเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน้ำ แพประจำยอดเรียงเคียงขนาน มีซุ้มซอกตรอกนางจ้างประจาน ยังสำราญร้องขับไม่หลับลง" (นิราศเมืองแกลง) คำว่า "อีสำเพ็ง" กลายเป็นคำด่าผู้หญิงที่หมายถึง โสเภณี<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/60575|title=ปริศนานาม..สำเพ็ง|date=2010-01-24|accessdate=2018-01-21|author=บาราย|work=[[ไทยรัฐ]]}}</ref>
แต่ในขณะเดียวกัน สำเพ็งก็เป็นสถานที่ขึ้นชื่อในเรื่อง[[ซ่องโสเภณี]]ด้วย [[สุนทรภู่]]ได้รจนาเรื่องนี้ไว้ในนิราศเมืองแกลง
 
ความว่า
 
{{คำพูด|ถึงสำเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน้ำ แพประจำยอดเรียงเคียงขนาน มีซุ้มซอกตรอกนางจ้างประจาน ยังสำราญร้องขับไม่หลับลง}}
 
จนครั้งหนึ่งคำว่า "อีสำเพ็ง" กลายเป็นคำด่าผู้หญิงที่หมายถึง โสเภณี <ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/60575|title=ปริศนานาม..สำเพ็ง|date=2010-01-24|accessdate=2018-01-21|author=บาราย|work=[[ไทยรัฐ]]}}</ref>
 
และในสมัยนั้น สำเพ็งเต็มไปด้วยร้านค้าตลอดจนซ่องโสเภณีและโรงฝิ่นที่ปลูกติดกันจนแน่นขนัด หลังคาของแต่ละหลังเกยซึ่งกันและกัน ก่อให้เกิดเพลิงไหม้บ่อย ๆ จนมีคำเปรียบเปรยว่าที่นี่ ''"ไก่บินไม่ตกพื้น"''<ref>{{cite web|url=https://library.stou.ac.th/odi/canal-in-past/page_2_8.html|title=ไก่บินไม่ตกพื้น...ที่สำเพ็ง|work=สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช}}</ref>
 
ปัจจุบัน สำเพ็งเป็นย่านการค้าที่คึกคักมากที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร<ref>{{Cite web|url=http://www.smeleader.com/%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B9%8D%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B9%87%E0%B8%87/|title=ตลาดสำเพ็ง เปิดประตูย่านการค้าแห่งใหญ่ใจกลางกรุง - SMELeader.com ศูนย์รวมธุรกิจ SMEs แฟรนไชส์ อาชีพทำเงิน|website=www.smeleader.com|access-date=2017-11-17}}</ref> โดยเปิดขายตั้งแต่เวลา 08:00 ถึง 17:00 น. ในเวลากลางวัน<ref name=ตลาด/> และยังในเวลากลางคืนตั้งแต่เวลา 23:00 น. จนล่วงเข้าสู่วันใหม่ในเวลา 01:00 หรือจนถึง 06:00 น. ในยามเช้า<ref name=ตลาด/> โดยสินค้าที่นิยมขาย ได้แก่ กิฟต์ช้อป, [[เครื่องประดับ]]ตกแต่งเสื้อผ้า, เสื้อผ้าแฟชั่น, หมวก, นาฬิกา, ตุ๊กตาหรือของเล่นเด็ก รวมถึง[[อาหาร]]ด้วย เป็นต้น โดยมีทั้งขายปลีกและขายส่ง<ref name=สาม/><ref name=ตลาด>{{Cite web|url=http://www.xn--22c0b1be3csl3a6k.com/2015/03/04/sampeng/|title=ตลาดสำเพ็ง แหล่งขายส่งสินค้ากิ๊ฟช้อปที่ใหญ่ที่สุดของไทย {{!}} ขายอะไรดี|website=www.xn--22c0b1be3csl3a6k.com|access-date=2017-11-17}}</ref> <ref name=":1">{{Cite news|url=http://www.cleothailand.com/shopping/77403|title=26 ร้านที่สำเพ็ง ช็อปมันๆ ถูกและดี คันปากอยากบอกต่อ!  - CLEO Thailand Online Magazine|date=2017-07-07|work=CLEO Thailand Online Magazine|access-date=2017-11-17}}</ref>
เส้น 28 ⟶ 20:
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.742869|100.504253}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สำเพ็ง"