ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐโลกวิสัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
[[File:Map of state religions.svg|border|thumb|upright=1.6|รัฐโลกวิสัยมักไม่มีศาสนาประจำชาติ ประเทศที่มีศาสนาประจำชาติถูกทาสีไว้ ส่วนประเทศที่ไม่มีเป็นสีเทา]]
'''รัฐโลกวิสัย''' หรือ '''รัฐฆราวาส''' ({{lang-en|secular state}}) เป็นแนวคิดสืบเนื่องมาจากหลัก[[ฆราวาสนิยม]] (secularism) ที่ให้รัฐมีหรือแสดงความเป็นกลางในประเด็นทางศาสนา โดยไม่สนับสนุนทั้ง[[ศาสนา]]และ[[การไม่มีศาสนา]]<ref>Madeley, John T. S. and Zsolt Enyedi, [https://books.google.com/books?id=n5Brda6FmswC&dq Church and state in contemporary Europe: the chimera of neutrality], p. 14, 2003 Routledge</ref> รัฐฆราวาสยังพึงปฏิบัติกับพลเมืองทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าเขาเหล่านั้นถือศาสนาใด ในการนี้ รัฐพึงเลี่ยงการให้ความสำคัญแก่พลเมืองเพราะถือหรือไม่ถือศาสนาใด รัฐฆราวาสไม่พึงมี[[ศาสนาประจำรัฐ]] ถึงแม้ว่าการไม่มีศาสนาประจำรัฐจะไม่ได้หมายความว่ารัฐนั้นเป็นฆราวาสเต็มตัวก็ตาม อย่างไรก็ดี รัฐที่เป็นฆราวาสอย่างแท้จริงนั้นพึงดำเนินการปกครองบ้านเมืองโดยปราศจากอิทธิพลจากศาสนา และพึงให้องค์การศาสนาปกครองตนเองโดยปราศจากอิทธิพลของรัฐ ตามหลัก[[การแยกศาสนจักรกับอาณาจักร]]<ref>{{cite web|url=http://www.allabouthistory.org/separation-of-church-and-state.htm|title=Separation Of Church And State|publisher=}}</ref>
 
==ความเป็นมา==
 
ในทางประวัติศาสตร์แล้ว การทำให้รัฐกลายเป็นฆราวาสนั้นมักเกี่ยวข้องกับการให้เสรีภาพทางศาสนา เลิกศาสนาประจำรัฐ เลิกสนับสนุนทางการเงินแก่ศาสนา สร้างระบบกฎหมายและการศึกษาที่ปราศจากอิทธิพลของศาสนา ยอมให้พลเมืองเปลี่ยนหรือเลิกนับถือศาสนา และยอมให้มีผู้นำที่มาจากความเชื่อใดก็ได้<ref>Jean Baubérot [http://www.ambafrance-us.org/atoz/secular.asp The secular principle] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080222013645/http://www.ambafrance-us.org/atoz/secular.asp |date=February 22, 2008 }}</ref>