ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
}}
 
'''บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ''' ({{lang-en|Thai Airways International Public Company Limited}}; ชื่อย่อ: ไทย, THAI) เป็น[[สายการบินประจำชาติ]]ของ[[ประเทศไทย]] อดีต[[รัฐวิสาหกิจ]]ในสังกัด[[กระทรวงคมนาคม]] ดำเนินธุรกิจการบินพาณิชย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503<ref name="profile">[http://www.thaiairways.co.th/about-thai/company-profile/th/history.htm ประวัติ บมจ.การบินไทย] จาก[[เว็บไซต์]]การบินไทย</ref> โดยปฏิบัติการบินจาก[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]เป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน [[สตาร์อัลไลแอนซ์]] เคยเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในสายการบิน[[นกแอร์]]<ref>[http://www.nokair.com/contents/about_nokair/shareholders/th-TH/index.html บริษัทร่วมทุน นกแอร์] {{dead link}}</ref> และเปิดตัวสายการบินลูก [[การบินไทยสมายล์|ไทยสมายล์]] อีกด้วย
 
ปัจจุบัน (พฤศจิกายน พ.ศ. 2561) การบินไทยได้ให้บริการการบินไปยังท่าอากาศยานทั้งหมด 62 แห่ง ใน 32 ประเทศ (ไม่รวมประเทศไทย) แบ่งเป็นต่างประเทศ 59 สนามบิน ในประเทศไทย 3 สนามบิน (ไม่รวมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) ครอบคลุม 3 ทวีปทั่วโลก จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 81 ลำ การบินไทยเป็นสายการบินลำดับต้นในเอเชีย ที่ทำการบินในเส้นทางกรุงเทพ{{ndash}}[[ลอนดอน]] ([[ท่าอากาศยานฮีทโธรว์]])<ref>[http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9530000123818 ผู้จัดการสายการบินแรกที่บินการบินไทย]</ref> การบินไทย ประสบความสำเร็จในการนำเครื่องบินขนาดใหญ่ ชนิด [[โบอิง 747]] ทำการบินในท่าอากาศยานภายในประเทศ 4 ท่าอากาศยาน ได้แก่ เส้นทางบิน [[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] ไปกลับ [[ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย]] เส้นทางบิน [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ไปกลับ [[ท่าอากาศยานเชียงใหม่]] เส้นทางบิน [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ไปกลับ [[ท่าอากาศยานภูเก็ต]] เส้นทางบิน ไปกลับ [[ท่าอากาศยานนานาชาติอู่ตะเภา (ระยอง–พัทยา)]] ไปกลับ [[ท่าอากาศยานแฟรงก์เฟิร์ต]] เที่ยวบิน TG9209 และ TG9219 ในช่วงระหว่าง [[การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551]] ใน TG9219
 
นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจาก[[องค์การอนามัยโลก]]ว่าด้วยสุขอนามัยบนเครื่องบินและรางวัลชั้นประหยัดที่ดีที่สุดในโลก (World's Best Economy Class) ในปี พ.ศ. 2561, พ.ศ. 2560 อีกด้วย<ref>[http://angelairline.igetweb.com/?mo=3&art=445092 รางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลก]</ref> และการบินไทยยังติดอันดับ 10 ของสายการบินดีที่สุดในโลกประจำปี พ.ศ. 2562
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 36:
วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 [[รัฐบาลไทย]]ดำเนินการให้ ''[[บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด]]'' ({{lang-en|Thai Airways Company Limited}}; ชื่อย่อ: บดท.; TAC) กับ[[สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม|สายการบินสแกนดิเนเวียน]] ({{lang-en|Scandinavian Airlines System}}; ชื่อย่อ: SAS) ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน ต่อมาในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 ''บริษัท การบินไทย จำกัด'' ได้จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ มีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกงเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน
 
วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสSAS คืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนหุ้นให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ตามมติ[[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]]
 
วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทยซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศได้รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียวตามมติคณะรัฐมนตรี[[เศรษฐกิจ]] จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็น[[บริษัทมหาชนจำกัด]]เมื่อปี พ.ศ. 2537<ref>[http://www.thaiairways.com/about-thai/company-profile/th/history.htm ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)] ใน[http://www.thaiairways.com เว็บไซต์การบินไทย]</ref>
บรรทัด 44:
วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ บมจ.การบินไทย ดำเนินโครงการลงทุนจัดตั้งสาย[[การบินไทยสมายล์]] โดยจัดตั้ง บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด เป็นบริษัทย่อยในเครือของ บมจ.การบินไทย ซึ่ง บมจ.การบินไทย ถือหุ้นร้อยละ 100 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สายการบินไทยสมายล์เป็นสายการบินภูมิภาค มีเครือข่ายการเชื่อมต่อผู้โดยสารทั้งในและต่างประเทศ ทั้งนี้ เนื่องจาก บมจ.การบินไทยในขณะนั้น มีกระทรวงการคลังถือหุ้นร้อยละ 51.03 และมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจ จึงทำให้บริษัทไทยสมายล์มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจด้วย<ref>http://www.gprocurement.go.th/wps/wcm/connect/b301d121-214d-476b-b62e-a8b200938e3a/mof04213_c106_020359.pdf?MOD=AJPERES&CACHEID=ROOTWORKSPACE-b301d121-214d-476b-b62e-a8b200938e3a-lZDGI7S หนังสือกรมบัญชีกลาง ลงวันที่ 2 มีนาคม 2559]</ref>
 
วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 [[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]]จำหน่ายหุ้นจนมีสัดส่วนถือหุ้นทั้งหมดเหลือร้อยละ 47.86 ทำให้บริษัทฯ หลุดพ้นสภาพการเป็น[[รัฐวิสาหกิจไทย|รัฐวิสาหกิจ]]<ref>[https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/881854?fbclid=IwAR3ZEbBuO0XCKOrJPxwja1NvBH-JYXsn_HmBvoSmQ1DZDaAysSZ1CELDcgw 'การบินไทย' พ้นสภาพรัฐวิสาหกิจแล้ว หลัง 'คลัง' ขายหุ้นให้วายุภักษ์วันนี้] เว็บไซต์หนังสือพิมพ์[[กรุงเทพธุรกิจ]] (เผยแพร่เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563)</ref> นอกจากนี้ ในวันที่ 25 พฤษภาคม คณะกรรมการบริษัทการบินไทยฯ ได้มีมติแต่งตั้งให้[[พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค]], บุญทักษ์ หวังเจริญ, [[ไพรินทร์ ชูโชติถาวร]] และ[[ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์]] ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการเดิม<ref>[https://news.thaipbs.or.th/content/292891 การบินไทยตั้งบอร์ดใหม่ 4 คน มีผล 25 พฤษภาคม 2563] จาก ไทยพีบีเอส</ref> ไม่กี่วันถัดมา ไพรินทร์ลาออกเพราะเพิ่งพ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีจึงไม่เหมาะสมต่อการรักษาธรรมาภิบาลของบริษัท และขัดต่อกฎหมายของ[[คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1856278 "วิษณุ" รับ "ไพรินทร์" ลาออกบอร์ดการบินไทย ลดเสี่ยง-รักษาธรรมาภิบาล] จาก ไทยรัฐออนไลน์</ref>
 
== ข้อมูลบริษัท ==
บรรทัด 754:
การบินไทยเคยถือหุ้นอยู่ใน[[นกแอร์|สายการบินนกแอร์]]อยู่ 49% นับเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่อันดับหนึ่ง<ref>http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/business/business/20110928/411285/กรุงไทยยอมทีจีขายทิ้งหุ้นนกแอร์165ล้าน.html {{dead link}}</ref> ในปี พ.ศ. 2560 นกแอร์ได้เสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัท การบินไทยตัดสินใจไม่ซื้อหุ้นเพิ่ม และสัดส่วนหุ้นนกแอร์ที่ถือโดยการบินไทยลดลงจากเดิม 39.2% เหลือ 21.57% (29 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)<ref>{{cite web |url=http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9600000054789 |title=“จุฬางกูร” ผงาดหุ้นใหญ่ “นกแอร์” รวม 28.93% “การบินไทย” ลดเหลือ 21.57% |date= 30 พฤษภาคม 2560 |publisher= [[ผู้จัดการออนไลน์]]|access-date= 1 กรกฎาคม 2560}}</ref>
 
นอกจากนั้นบริษัทการบินไทยยังมีบริษัทย่อยดังต่อไปนี้<ref>http://thai.listedcompany.com/misc/ar/20120404-THAI-AR2011-TH.pdf</ref>ดังต่อไปนี้
# บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาท์อีสต์เอเชีย จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 55
# บริษัท วิงสแปน เซอร์วิสเซส จำกัด ถือหุ้นร้อยละ 49
บรรทัด 811:
== กรณีซื้อและเช่าเครื่องบินซึ่งผลดำเนินการขาดทุน ==
[[ไฟล์:Boeing 777-FZB, Thai Cargo (Southern Air) JP6806529.jpg|230px|thumb|B777-FZB ทะเบียน N774SA]]
การบินไทยซื้อเครื่องบินแอร์บัส 340 โดยกรรมการใหญ่ผู้จัดการใหญ่ในขณะนั้น นายกนก อภิรดี ซื้อมาโดยวางแผนบินเส้นทางกรุงเทพไปนิวยอร์ก กรุงเทพไปลอสแอนเจลิส ผลของการซื้อเครื่องบินแบบดังกล่าวคือการขาดทุนมหาศาลทั้งผลการดำเนินงานที่ขาดทุนทุกเที่ยวบินที่บินไปนิวยอร์ก <ref>http://www.forbesthailand.com/article_detail.php?article_id=300</ref> และต่อมาก็ขาดทุนทางบัญชี ค่าเสียโอกาส เนื่องจากการบินไทยเลือกที่จะนำเครื่องบินรุ่นดังกล่าวไปจอดไว้ที่ท่าอากาศยานดอนเมืองผลจากเรื่องนี้นำมาสู่การยึดอำนาจนาย กนกนายกนก อภิรดี<ref>http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000107850</ref> การบินไทยนับจากการซื้อเครื่องบินเมื่อปี พ.ศ. 2548 จนถึง ปี พ.ศ. 2559 ไม่สามารถขายเครื่องบินได้เนื่องจากหากขายเครื่องบินรุ่นดังกล่าวจะต้องขายเครื่องบินแบบขาดทุนอย่างมาก จนไม่มีกรรมการผู้จัดการใหญ่คนใดกล้าขายเพราะต้องเผชิญเสียงวิจารณ์ในทางลบอย่างมากจากภายในบริษัทและภายนอกบริษัท อีกทั้งเสี่ยงต่อการถูกสอบสวน ในข้อหาทำให้บริษัท การบินไทย เสียหายนับว่าเป็นวิกฤตจนถึงปัจจุบันที่เครื่องบินไม่สามารถขายได้และมีค่าเสื่อมราคาลงอย่างต่อเนื่อง
 
นอกจากนั้นแล้วในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ดร.[[ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์]] ได้สั่งโยกย้าย นายพฤทธิ์ บุปผาคำ รองกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ เนื่องจากผลดำเนินการขาดทุนของการบินไทยคาร์โก้ โดยให้เหตุผลว่า นายพฤทธิ์ กระทำการเกินอำนาจหน้าที่ตนเอง โดยการเซ็นสัญญาเช่าเครื่องบินเพื่อขนส่งสินค้า 2 ลำกับ Southern Air ต้องเป็นหน้าที่ของบอร์ดที่จะต้องมีการพิจารณาและอนุมัติก่อน นอกจากนี้ ยังมีสาเหตุมาจากการกระทำที่ผิดนโยบาย คือ เดิมการบินไทยมีเป้าหมายจะให้เช่าพื้นที่คาร์โก้ แต่กลับไปเช่าเครื่องบิน<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1279280049&catid=05</ref> ท้ายที่สุดแล้วการบินไทยเช่าพื้นที่คาร์โก้ของเครื่องบินทั้งสองลำ และผลดำเนินการขาดทุนกว่า 100 ล้านบาทจนต้องรีบคืนเครื่องบิน 1 ลำ ก่อนครบสัญญาเช่า
 
== รางวัลที่ได้รับ ==