ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คำยืม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
คำในภาษาของผู้ให้โดยทั่วไปเข้าสู่ภาษาของผู้รับในลักษณะ[[ศัพท์เฉพาะทาง]]เนื่องจากการเปิดรับ[[วัฒนธรรม]]ต่างชาติ จุดอ้างอิงโดยเฉพาะอาจเป็นวัฒนธรรมต่างชาตินั้นเองหรือขอบข่ายของกิจกรรมของวัฒนธรรมต่างชาติที่ต้องการครอบงำ วัฒนธรรมต่างชาติซึมซับเข้าสู่วัฒนธรรมท้องถิ่นผ่านทางการเผยแผ่[[ศาสนา]] [[ปรัชญา]] [[การค้าขาย]] [[ศิลปะ]] [[วิทยาการ]] และการอพยพจากคนต่างถิ่น รวมไปถึงความสัมพันธ์ทาง[[การทูต]]
 
ภาษาไทยมีคำยืมภาษาต่างประเทศหลายภาษาอาทิ เช่น [[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต]] [[ภาษาเขมร]] [[กลุ่มภาษาจีน]] ([[ภาษาแต้จิ๋ว]], [[ภาษาหมิ่นใต้|ภาษาฮกเกี้ยน]] และ [[ภาษาจีนกลาง]]) [[ภาษามอญ]] [[ภาษามลายู]] [[ภาษาโปรตุเกส]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาญี่ปุ่น]] ฯลฯ แม้แต่[[ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง]]ก็ยังปรากฏคำยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ามาปะปน
 
== รูปแบบการถ่ายทอดคำยืม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คำยืม"