ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทม์โดเมนรีเฟลกโตมิเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
 
บรรทัด 11:
โดยทั่วไปสัญญาณที่สะท้อนกลับมาจะมีรูปร่างเหมือนสัญญาณที่ตกกระทบ แต่เครื่องหมายและขนาดของมันจะขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของอิมพีแดนซ์ ถ้าอิมพีแดนซ์เพิ่ม สัญญาณสะท้อนกลับจะมีเครื่องหมายเดียวกันกับสัญญาณที่ตกกระทบ; ถ้าอิมพีแดนซ์ลดลง ที่สะท้อนกลับจะมีเครื่องหมายตรงกันข้าม ขนาดของสัญญาณสะท้อนกลับจะไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับปริมาณของการเปลี่ยนแปลงของอิมพีแดนซ์เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับค่าการสูญเสียพลังงานในตัวนำอีกด้วย
 
การสะท้อนกลับสามารถวัดได้เป็นอัตราส่วน[[ส่งออก/นำเขัาเขั]] โดย TDR จะแสดงหรือพล็อตในแกนของเวลา อีกวิธีหนึ่งก็คือการแสดงผลสามารถอ่านได้เป็นค่าของความยาวของสาย[[เคเบิล]] เพราะความเร็วของสัญญาณที่วิ่งเข้าไปในสายตัวนำเกือบจะคงที่สำหรับตัวกลางที่ใช้ในการส่งสัญญาณหนึ่ง ๆ
 
เพราะความไวของการเปลี่ยนแปลงอิมพีแดนซ์ ทำให้ TDR สามารถนำมาใช้ในการตรวจสอบคุณลักษณะด้านอิมพีแดนซ์ของสายเคเบิ้ลเคเบิล, [[การบรรจบปลายสายแบบหลอมละลาย]] ({{lang-en|fusion splicing}}) และตำแหน่งของ[[หัวต่อไฟฟ้า|คอนเนกเตอร์]] และการสูญเสียพลังงานที่เกี่ยวข้อง, และความยาวโดยประมาณของสายเคเบิล
 
=== สัญญาณตกกระทบ ===
บรรทัด 36:
</gallery>
 
เส้นวาดต่อไปนี้สร้างขึ้นโดยเครื่อง TDR ในทางพานิชย์โดยใช้คลื่นขั้นบันไดที่มีเวลาขึ้นเท่ากับ 25&nbsp;ps และหัวเก็บตัวอย่าง ({{lang-en|sampling head}}) ที่มีเวลาขึ้นเท่ากับ 35&nbsp;ps และสายเคเบิลแกนร่วมมีหัวเป็น SMA (RF Coaxial connector) ที่มีความยาว {{convert|18|inch|m|adj=on}}<ref>Hamilton Avnet part number P-3636-603-5215</ref> ปลายสายของเคเบิ้ลเคเบิลถูกปล่อยให้เปิดหรือต่ออยู่กับอะแดปเตอร์อื่นที่แตกต่างกัน มันต้องใช้เวลาประมาณ 3&nbsp;นาโนวินาทีสำหรับพัลส์ที่จะเดินทางไปถึงปลายเคเบิล สะท้อนกลับ และเดินทางกลับมาถึงหัวเก็บตัวอย่าง สัญญาณสะท้อนกลับตัวที่สอง (ที่ประมาณ 6&nbsp;ns) อาจมองเห็นได้ในบางเส้นวาดเนื่องจากการสะท้อนกลับอาจมองเห็นการไม่แมทช์กันขนาดเล็กที่หัวเก็บตัวอย่างซึ่งทำให้เกิดคลื่น "ตกกระทบ" อีกตัวหนึ่งที่จะเดินทางไปที่ปลายสาย
<gallery perrow=4>
ไฟล์:TDR SMA open.svg|TDR ของขั้นบันไดเข้าที่หัวตัวผู้ของสาย SMA ที่ปล่อยลอยอยู่ (non-precision open)<br/>แนวนอน: 1&nbsp;ns/ช่อง<br/>แนวตั้ง: 0.5&nbsp;&rho;/ช่อง
บรรทัด 52:
ผลที่คล้ายกันจะเกิดขึ้นถ้าปลายสุดของสายเคเบิลเป็นวงจรเปิด (ถูกบรรจบแบบให้อิมพีแดนซ์มีค่าเป็นอนันต์) แต่ในกรณีนี้การสะท้อนจากปลายสุดจะมีขั้วเดียวกันกับพัลส์เดิม ดังนั้นหลังจากที่มีการล่าช้าในการเดินทางไปกลับ แรงดันที่ TDR จึงแสดงเส้นวาดออกมาเป็นพัลส์สองตัวมีค่าเท่ากัน
 
โปรดสังเกตุสังเกตว่าถ้ามีการบรรจบอย่างสมบูรณ์แบบในทางทฤษฎีที่ปลายสุดของสายเคเบิล พัลส์ที่ใส่เข้าไปในเคเบิลจะดูดซึมอย่างหมดสิ้น จึงไม่ก่อให้เกิดการสะท้อนใด ๆ ในกรณีนี้มันจะเป็นไปไม่ได้ที่จะวัดความยาวจริงของสายเคเบิล โชคดีที่การบรรจบอย่างสมบูรณ์แบบนี้สามารถหาได้ยากมากและการสะท้อนขนาดเล็กบางส่วนจะเกิดขึ้นได้เกือบตลอดเวลา
 
ขนาดของการสะท้อนจะถูกเรียกว่าค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนหรือ ρ มีช่วงจาก 1 (วงจรเปิด) ถึง -1 (ลัดวงจร) ค่าเป็นศูนย์หมายถึงว่าไม่มีการสะท้อน ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนสามารถคำนวณได้ดังนี้:
บรรทัด 72:
 
===TDR ในการตรวจวัดระดับ ===
ในอุปกรณ์ตรวจวัดระดับที่ีที่พื้นฐานจาก TDR อุปกรณ์นั้นจะสร้างแรงกระตุ้น ({{lang-en|impulse}}) ที่แพร่กระจายลงท่อนำคลื่นชนิดบาง (ที่เรียกว่าหัววัด ({{lang-en|probe}})) ซึ่งโดยปกติจะเป็นแท่งโลหะหรือสายเคเบิลเหล็ก เมื่อแรงกระตุ้นนี้กระทบผิวหน้าของสื่อกลางที่จะทำการวัด ส่วนหนึ่งของแรงกระตุ้นจะสะท้อนกลับมาที่ท่อนำคลื่น อุปกรณ์จะกำหนดระดับของเหลวโดยการวัดความแตกต่างของเวลาระหว่างเวลาที่ส่งแรงกระตุ้นออกไปกับเวลาที่สะท้อนกลับมา [[ตัวรับรู้]]สามารถส่งระดับที่วิเคราะห์ได้ออกเป็นสัญญาณแอนาล็อกอย่างต่อเนื่องหรือสัญญาณเอ้าพุทแบบสลับ ในเทคโนโลยีของ TDR, ความเร็วของแรงกระตุ้นจะได้รับผลกระทบเป็นหลักโดยค่า permittivity ของตัวกลางที่พัลส์แพร่กระจายผ่านเข้าไป ซึ่งสามารถแตกต่างกันอย่างมากตามความชื้นและอุณหภูมิของตัวกลาง ในหลายกรณี ผลกระทบนี้สามารถแก้ไขได้โดยไม่ยากเกินควร ในบางกรณีเช่นในสภาพแวดล้อมที่อุณหภูมิสูงและ/หรือเดือด การแก้ไขอาจจะยากลำบาก ในกรณีเฉพาะอย่าง การกำหนดความสูงของฟอง (โฟม) และระดับของของเหลวที่ทรุดตัวลงในตัวกลางที่เป็นฟอง/เดือดอาจจะยากลำบากมาก
 
=== TDR ใช้ในสายสมอในเขื่อน ===
บรรทัด 96:
TDR โดยเฉพาะอย่างยิ่ง TDR แบบแพร่กระจายคลื่น ถูกใช้ในการการบำรุงรักษาเชิงป้องกันสไหรับสายไฟในอากาศยาน รวมทั้งการหาตำแหน่งของจุดผิดพลาด<ref>Smith, P., C. Furse, and J. Gunther, 2005. "Analysis of spread spectrum time domain reflectometry for wire fault location". IEEE Sensors Journal 5:1469–1478.</ref> TDR แบบแพร่กระจายคลื่นมีความได้เปรียบตรงที่มีความแม่นยำในการกำหนดตำแหน่งของความผิดปกติภายในหลายพันไมล์ของการเดินสายไฟในอากาสยาน นอกจากนี้เทคโนโลยีนี้คุ้มค่าในการพิจารณาเพื่อนำมาใช้ในการเฝ้าดูแบบเวลาจริงของอากาศยานเพราะการสะท้อนแบบแพร่กระจายคลื่นความถี่สามารถทำงานในสายที่มีไฟ
 
วิธีการนี​​้้ได้แสดงให้เห็นว่ามีประโยชน์ในการกำหนดตำแหน่งของความผิดพลาดทางไฟฟ้าที่เกิดแบบไม่สม่ำเสมอ<ref>Furse, Cynthia, Smith, P.,Safavi, Mehdi, and M. Lo, Chet. "Feasibility of Spread Spectrum Sensors for Location of Arcs on Live Wires". IEEE Sensors Journal. December 2005.</ref>
 
==อ้างอิง==