ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาอินทวิไชย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
พีรวงค์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
|คำบรรยายภาพ =
|พระนาม = เจ้าน้อยอินทวิไชย
|พระนามเต็ม = พระองค์สมเด็จพระบรมบัวพิตองค์เปนเจ้า (พระญาอินทวิไชยราชา)
|ครองราชย์ = [[พ.ศ. 2359]] – [[พ.ศ. 2390]]<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
|รัชกาลก่อนหน้า = [[พระยาเทพวงศ์]]
|รัชกาลถัดมา = [[พระยาพิมพิสารราชา]]
|ฐานันดร = พระยาประเทศราชเจ้าหลวง
|วันประสูติ = [[พ.ศ. 2324]]
|วันพิราลัย = [[พ.ศ. 2390]]
บรรทัด 28:
}}
{{เจ้าผู้ครองนครแพร่แห่งราชวงศ์เทพวงศ์}}
'''พระยาอินทวิไชย'''<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)| ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑-๔| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2555| ISBN = 978-616-7146-30-0| จำนวนหน้า = 2,136| หน้า = 1559}}</ref> หรือ '''เจ้าหลวงอินต๊ะวิไจย''' เป็น[[รายพระนามเจ้าผู้ครองนครแพร่|เจ้าผู้ครองนครแพร่]] องค์ที่ 2023 (องค์ที่ 2 แห่ง[[ราชวงศ์เทพวงศ์]]) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์ได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ต่อจาก[[พระยาเทพวงศ์]]ผู้เป็นราชบิดา
 
==พระประวัติ==
พระยาอินทวิไชย หรือ '''พระญาอินทวิไชยราชา''' มีพระนามเดิมว่า ''เจ้าน้อยอินทวิไชย'' และมีตำแหน่งเดิมเป็น พระ''ท้าวอินราชา'' หรือ ''พระอินทราชาไชยราชา (เจ้าขวา)'' เป็นราชโอรสองค์โตใน[[พระยาเทพวงศ์]] กับ[[แม่เจ้าสุชาดาราชเทวี]] ประสูติที่นครลำปางภายหลังได้มาช่วยราชบิดาทรงงานที่นครแพร่ และได้เสด็จขึ้นครองนครแพร่ในปี พ.ศ. 2359 ขณะมีชันษาได้ 35 ปี<ref name="เจ้านาย">{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = วรชาติ มีชูบท| ชื่อหนังสือ = เจ้านายฝ่ายเหนือและตำนานรักมะเมียะ| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สร้างสรรค์บุ๊คส์| ปี = 2556| ISBN = 978-616-220-054-0| จำนวนหน้า = 428| หน้า = 20}}</ref>
 
ในยุคที่พวกยุโรปกำลังล่าเมืองขึ้นและต้องการเมืองไทยเป็นอาณานิคมอังกฤษพยายามอย่างยิ่งที่จะยึดเมืองแพร่ เพราะมีป่าไม้สักที่อุดมสมบูรณ์จำนวนมหาศาล จึงขอเข้าทำกิจการป่าไม้ในเมืองแพร่คือบริษัท อิสต์ เอเชียติก พระยาอินทวิไชย ดำเนินวิทโยบายอย่างสุขมรอบคอบ พยายามมิให้เกิดปัญหาขัดแย้งกับชนต่างชาติ อันเป็นชนวนให้เกิดสงคราม เมืองแพร่จึงอยู่รอดปลอดภัยตลอดมา<ref name="เจ้าหลวง">{{cite web|title=เจ้าหลวงอินทวิชัย (อินต๊ะวิชัย)|url=http://wungfon.com/index.php?option=com_content&view=article&id=679:2011-09-04-06-57-18&catid=142:2010-11-06-02-33-05&Itemid=184|publisher=วังฟ่อนดอตคอม|date=22 กรกฎาคม 2554 | accessdate = 9 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
บรรทัด 66:
|5= แม่เจ้านครเชียงตุง
|6= [[พระยาศรีสุริยวงศ์ (มังไชย)]]
|7= แม่เจ้าเมืองแพร่อรรคบุษบาราชเทวี
|8=
|9=